ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปยู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ประวัติศาสตร์พม่า}}
{{ประวัติศาสตร์พม่า}}
ปยู ({{lang-en|Pyu}}) เป็นชนชาติหนึ่งในตระกูลภาษาพม่า-ทิเบต ซึ่งเคยเป็นเจ้าของพื้นที่ในที่ราบลุ่มดินดอนสามเหลี่ยมปาก[[แม่น้ำอิรวดี]] ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-14 (ประมาณ 100 ปีก่อนคริสตกาล–ค.ศ. 840) อยู่ในยุคเดียวกันกับกลุ่ม[[รัฐยะไข่]] ชาวปยูตั้งศูนย์กลางอยู่ที่[[แปร]] และเรียกอาณาจักรของตนเองว่า [[อาณาจักรศรีเกษตร|ศรีเกษตร]] ซึ่งแปลว่า ดินแดนแห่งความโชคดี เมืองแปรเป็นศูนย์กลางการค้าในระยะเวลานั้น เพราะอยู่ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เมืองสำคัญของนครรัฐปยูคือเมืองเบกทาโนและเมืองฮาลินซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ
ปยู ({{lang-en|Pyu}}) เป็นชนชาติหนึ่งในตระกูลภาษาพม่า-ทิเบต ซึ่งเคยเป็นเจ้าของพื้นที่ราบลุ่ม[[แม่น้ำอิรวดี]] ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-14 (ประมาณ 100 ปีก่อนคริสตกาล–ค.ศ. 840) อยู่ในยุคเดียวกันกับกลุ่ม[[รัฐยะไข่]] ชาวปยูตั้งศูนย์กลางอยู่ที่[[แปร]] และเรียกอาณาจักรของตนเองว่า [[อาณาจักรศรีเกษตร|ศรีเกษตร]] ซึ่งแปลว่า ดินแดนแห่งความโชคดี เมืองแปรเป็นศูนย์กลางการค้าในระยะเวลานั้น เพราะอยู่ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เมืองสำคัญของนครรัฐปยูคือเมืองเบกทาโนและเมืองฮาลินซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ


==มรดกโลก==
==มรดกโลก==
'''นครโบราณแห่งปยู''' ({{lang-en|Pyu Ancient Cities}}) กำแพงและคูน้ำรอบเมืองที่เมือง[[หะลิน]] [[มองกะโม้]] และ[[ศรีเกษตร]] ตั้งอยู่ในบริเวณส่วนแห้งของ[[ลุ่มน้ำอิรวดี]] เมืองเหล่านี้สะท้อนให้เห็น[[อาณาจักรศรีเกษตร|อาณาจักรปยู]]ที่เคยรุ่งเรืองนานกว่า 1,000 ปีระหว่างยุค 200 ปีก่อนคริสตกาลจนถึง ค.ศ. 900 เมืองทั้งสามเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ขุดค้นทางโบราณคดี โดยมีการค้นพบส่วนของป้อมปราการราชวัง, ลานที่ถูกฝัง รวมถึงสถูปอิฐของพุทธศาสนา, กำแพงอิฐและระบบจัดการน้ำ ซึ่งบางส่วนยังใช้อยู่
'''นครโบราณแห่งปยู''' ({{lang-en|Pyu Ancient Cities}}) กำแพงและคูน้ำรอบเมืองที่เมือง[[หะลิน]] [[มองกะโม้]] และ[[ศรีเกษตร]] ตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่ม[[แม่น้ำอิรวดี]] เมืองเหล่านี้สะท้อนให้เห็น[[อาณาจักรศรีเกษตร|อาณาจักรปยู]]ที่เคยรุ่งเรืองนานกว่า 1,000 ปีระหว่างยุค 200 ปีก่อนคริสตกาลจนถึง ค.ศ. 900 เมืองทั้งสามเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ขุดค้นทางโบราณคดี โดยมีการค้นพบส่วนของป้อมปราการราชวัง, ลานที่ถูกฝัง รวมถึงสถูปอิฐของพุทธศาสนา, กำแพงอิฐและระบบจัดการน้ำ ซึ่งบางส่วนยังใช้อยู่


กลุ่มเมืองโบราณได้รับลงทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 37เมื่อปี 2557ที่กรุง[[โดฮา]] ประเทศ[[กาตาร์]]ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้
กลุ่มเมืองโบราณได้รับลงทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 37เมื่อปี 2557ที่กรุง[[โดฮา]] ประเทศ[[กาตาร์]]ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:47, 6 กันยายน 2561

ปยู (อังกฤษ: Pyu) เป็นชนชาติหนึ่งในตระกูลภาษาพม่า-ทิเบต ซึ่งเคยเป็นเจ้าของพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-14 (ประมาณ 100 ปีก่อนคริสตกาล–ค.ศ. 840) อยู่ในยุคเดียวกันกับกลุ่มรัฐยะไข่ ชาวปยูตั้งศูนย์กลางอยู่ที่แปร และเรียกอาณาจักรของตนเองว่า ศรีเกษตร ซึ่งแปลว่า ดินแดนแห่งความโชคดี เมืองแปรเป็นศูนย์กลางการค้าในระยะเวลานั้น เพราะอยู่ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เมืองสำคัญของนครรัฐปยูคือเมืองเบกทาโนและเมืองฮาลินซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ

มรดกโลก

นครโบราณแห่งปยู (อังกฤษ: Pyu Ancient Cities) กำแพงและคูน้ำรอบเมืองที่เมืองหะลิน มองกะโม้ และศรีเกษตร ตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี เมืองเหล่านี้สะท้อนให้เห็นอาณาจักรปยูที่เคยรุ่งเรืองนานกว่า 1,000 ปีระหว่างยุค 200 ปีก่อนคริสตกาลจนถึง ค.ศ. 900 เมืองทั้งสามเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ขุดค้นทางโบราณคดี โดยมีการค้นพบส่วนของป้อมปราการราชวัง, ลานที่ถูกฝัง รวมถึงสถูปอิฐของพุทธศาสนา, กำแพงอิฐและระบบจัดการน้ำ ซึ่งบางส่วนยังใช้อยู่

กลุ่มเมืองโบราณได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 37เมื่อปี 2557ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้

  • (ii) - เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใด ๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม
  • (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
  • (iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ

ดูเพิ่ม