ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอร์จ แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 7 แห่งฮาร์วุด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฟร็องซัว (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฟร็องซัว (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
จอร์จ แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 7 แห่งฮาร์วุด ({{Lang-en|George Lascelles, 7th Earl of Harewood}})
จอร์จ แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 7 แห่งฮาร์วุด ({{Lang-en|George Lascelles, 7th Earl of Harewood}})
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
จอร์จ แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 7 แห่งฮาร์วุด เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466 ณ เชอร์เตนเฟรด เฮาส์ เป็นพระโอรสคนใหญ่ใน [[เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด]] และ [[ เฮนรี แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 6 แห่งฮาร์วุด]] เป็นพระราชนัดดาคนแรกใน [[พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร]] และเมื่อเขาเติบใหญ่ เขาได้เข้าร่วมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของ [[พระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร]] ผู้เป็นพระปิตุลา โดยเมื่อเจริญวัย เขาได้กลายเป็น หทารบังคับบัญชาแห่งอังกฤษใน [[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
จอร์จ แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 7 แห่งฮาร์วุด เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466 ณ เชอร์เตนเฟรด เฮาส์ เป็นพระโอรสคนใหญ่ใน [[เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด]] และ [[ เฮนรี แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 6 แห่งฮาร์วุด]] เป็นพระราชนัดดาคนแรกใน [[พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร]] และเมื่อเขาเติบใหญ่ เขาได้เข้าร่วมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของ [[พระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร]] ผู้เป็นพระมาตุลา โดยเมื่อเจริญวัย เขาได้กลายเป็น หทารบังคับบัญชาแห่งอังกฤษใน [[สงครามโลกครั้งที่สอง]]


เมื่อสงครามสงบลง เขาได้กลายเป็นที่ปรึกษาของบริษัท แอด-เดอ-แคมป์ ตั้งแต่ปี 2488-2489 ต่อมาเขาได้กลายเป็นที่ปรึกษาของรัฐสภาแคนาดาเมื่อปี 2490-2496 และในปี 2499 อีกครั้ง และในที่สุดเขาได้กลายเป็นขุนนางเมื่อปี 2499 ในฐานะที่ปรึกษาของหัวหน้าสภาอังกฤษ
เมื่อสงครามสงบลง เขาได้กลายเป็นที่ปรึกษาของบริษัท แอด-เดอ-แคมป์ ตั้งแต่ปี 2488-2489 ต่อมาเขาได้กลายเป็นที่ปรึกษาของรัฐสภาแคนาดาเมื่อปี 2490-2496 และในปี 2499 อีกครั้ง และในที่สุดเขาได้กลายเป็นขุนนางเมื่อปี 2499 ในฐานะที่ปรึกษาของหัวหน้าสภาอังกฤษ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:34, 27 สิงหาคม 2561

จอร์จ เฮนรี ฮิวเบิร์ต แลสเซิลส์
เกิด7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466
เสียชีวิต11 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 (88 ปี)
มีชื่อเสียงจากพระราชนัดดาใน พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร
คู่สมรสมารีออน สตืน
แพทริเซีย แลสเซิลส์ เคาน์เตสแห่งฮาร์วุด
บุตรเดวิด แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 8 แห่งฮาร์วุด
เจมส์ แลสเซิลส์
เจเรมี แลสเซิลส์
มาร์ค แลสเซิลส์
บุพการีเฮนรี แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 6 แห่งฮาร์วุด
เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด

จอร์จ แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 7 แห่งฮาร์วุด (อังกฤษ: George Lascelles, 7th Earl of Harewood)

ประวัติ

จอร์จ แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 7 แห่งฮาร์วุด เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466 ณ เชอร์เตนเฟรด เฮาส์ เป็นพระโอรสคนใหญ่ใน เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด และ เฮนรี แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 6 แห่งฮาร์วุด เป็นพระราชนัดดาคนแรกใน พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร และเมื่อเขาเติบใหญ่ เขาได้เข้าร่วมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของ พระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร ผู้เป็นพระมาตุลา โดยเมื่อเจริญวัย เขาได้กลายเป็น หทารบังคับบัญชาแห่งอังกฤษใน สงครามโลกครั้งที่สอง

เมื่อสงครามสงบลง เขาได้กลายเป็นที่ปรึกษาของบริษัท แอด-เดอ-แคมป์ ตั้งแต่ปี 2488-2489 ต่อมาเขาได้กลายเป็นที่ปรึกษาของรัฐสภาแคนาดาเมื่อปี 2490-2496 และในปี 2499 อีกครั้ง และในที่สุดเขาได้กลายเป็นขุนนางเมื่อปี 2499 ในฐานะที่ปรึกษาของหัวหน้าสภาอังกฤษ

สมรส

จอร์จ แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 7 แห่งฮาร์วุด สมรสครั้งแรกกับ มารีออน สตืน ซึ่งเป็นนักเปียโน โดยมีบุตร 3 คนดังนี้

  1. เดวิด แลสเซิลส์ เอิร์ลที่ 8 แห่งฮาร์วุด
  2. เจมส์ แลสเซิลส์
  3. เจเรมี แลสเซิลส์

ต่อมาเมื่อปี 2510 เขาได้หย่าขาดจากภริยาคนแรก ซึ่งขณะนั้นเป็นที่วิจารณ์ของสื่อมวลชนเป็นอย่างมาก ต่อมา ในปีเดียวกัน เขาได้สมรสใหม่กับ แพรทิเซีย ทัคเวลล์ น้องสาวของ แบร์รี ทัคเวลล์ นักไวโอลีนชื่อดัง โดยแพรทิเซียได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เคาน์เตสแห่งฮาร์วุด มีบุตร 1 คนคือ

  1. มาร์ค แลสเซิลส์

หน้าที่การงาน

เขาเป็นที่ปรึกษาของรัฐบาลเพียงคนเดียวที่ไม่ใช่เจ้าชายหากแต่เป็นพระราชวงศ์สหราชอาณาจักร และต่อมาเขาได้รับตำแหน่งนายกสมาคมผู้ปกครองแห่งมหาวิทยาลัยยอร์ก และเมื่อปี 2529 สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เขาเป็นอัศวินแห่งสหราชอาณาจักรบริตริช และยังได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยให้เป็นนายกสมาคมศิลปะแห่งออสเตเรีย