ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระทุรคา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shananzeta (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7777596 สร้างโดย Shananzeta (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Durga photobucket4.jpg|alt=จำพวก เทวี พาหนะ สิงโต อาวุธ จักร สังข์ ดาบ คฑา ธนู ตรีศูล|thumb|พระแม่ทุรคาทรงปราบอสูรในลักษณะ 18 กร]]
พระแม่ทุรคา (Durgā : দুর্গা ) มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ซึ่งเกิดมาจากคำชี้แนะของท้าวมหาพรหมธาดา เพื่อปราบอหิษาสูร หรือ อสูรมหิงสา โดยเฉพาะ โดยให้สร้างหญิงที่ไม่เคยมีมาก่อนในสามโลกขึ้นมา หญิงผู้นั้นต้องเกิดแบบผิดวิสัยธรรมดาและจะต้องมีฤทธิ์และมีศัตราวุธที่ทรงพลังอำนาจเทียบเท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์รวมกัน จึงจะสามารถสังหารจอมอสูรและลบล้างพรของพระองค์ได้สำเร็จ พระศิวะมหาเทพจึงทรงแสดงฤทธิ์ใช้ดวงตาที่สามสร้างดวงไฟใหญ่ขึ้นบนฟากฟ้ามีแสงดั่งดวงอาทิตย์ที่ร้อนแรงและทรงพลังมหาศาลขึ้น เหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์ทรงร่วมกันทำพิธีสร้างหญิงงามผู้หนึ่งให้เกิดขึ้นจากดวงไฟนั้นเพื่อเป็นการลบล้างพรของท่านท้าวมหาพรหมธาดาและมอบศัตราวุธร่วมกับถ่ายพลังทิพยอำนาจทุกอย่างที่มีอยู่ให้แก่หญิงงามที่พวกตนสร้างขึ้น พระอิศวรทรงประทานนามหญิงงามผู้นั้นว่า " พระแม่ทุรคามหาเทวี ( Durgā Devī : দুর্গা देवी) "แล้วทรงมอบหมายหน้าที่ให้ไปปราบจอมอสูรมหิงสาจอมอสูรพ่ายฤทธิ์พระแม่ทุรคามหาเทวี ก่อนตายได้กลับกลายร่างเป็นควายเผือกตามชาติกำเนิดเดิมเข้าต่อสู้พระแม่ทุรคาแปลงร่างเป็นเสือโคร่งตัวใหญ่กระโจนเข้าตะปบกัดฟัดจนควายเผือกตาย กล่าวกันว่าในยุคนั้นไม่เคยมีเสือโคร่งมาก่อน สามโลกจึงถือว่าเสือโคร่งนั้นเป็นสัตว์ที่เกิดจากพลังฤทธิ์ของพระแม่ทุรคามหาเทวี หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งคือพระแม่ทุรคามหาเทวีทรงเป็นผู้ให้กำเนิดเสือโคร่งนั่นเอง คนฮินดูบางพวกจึงนับถือเสือเป็นเสมือนตัวแทนของพระแม่ทุรคามหาเทวี
'''พระแม่ทุรคา''' ({{lang-sa|ทุรฺคา}}) หรือ '''พระแม่มหิษาสุรมรรทินี ''' เป็นปางหนึ่งของ[[พระปารวตี]] มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ไม่ว่าทั้งเทพเจ้า มนุษย์ อสูร แม้แต่[[พระศิวะ]] [[พระพรหม]] หรือ[[พระวิษณุ]] ก็ไม่อาจสังหารมหิษาสูรได้ <ref>[http://www.zeebox.net/catalog/product_info.php?products_id=238&language=th&osCsid=7bfbb6f4741975c135b6afa5514a27d2 พระแม่ทุรคาปราบอสูรควาย (มหิษาสุรมรรทินี)]</ref> มีเพียงหญิงสาวที่ไม่ได้เกิดอย่างธรรมชาติ และเป็นหนึ่งในอำนาจทั้งหมดของจักรวาล ซึ่งก็คือพระแม่ทุรคา ซึ่งเกิดจากอำนาจทั้งปวงของเหล่าเทพเจ้า


ในช่วงประมาณเดือน[[กันยายน]]-[[ตุลาคม]]ของทุกปี จะมีการบูชาพระแม่ทุรคาเรียกว่าเทศกาล[[นวราตรี]] มีการฉลองถึง 9 วัน 9 คืนด้วยกัน ใน[[ประเทศไทย]] งานฉลองนี้จะมีขึ้นประจำทุกปีที่[[วัดพระศรีมหาอุมาเทวี]] [[เขตบางรัก]] โดยมีการแห่ไปตามท้องถนนในเวลากลางคืนด้วยดอก[[ดาวเรือง]]และเครื่องบูชาต่าง ๆ
ส่วนพระแม่ที่ทรงขี่สิงห์โต(ราชสีห์)คือพระแม่ศรีมหาอุมาเทวี พระแม่ทุรคาอยู่ในลักษณะของกัลยาผู้ที่สุนทรที่สุดในสามโลก มี ๑๐-๑๘ กร ถืออาวุธครบมือ ที่มีอำนาจไม่สิ้นสุด มีกายที่สว่างมาก มีพระเนตร ๓ ดวงที่มีลักษณะเหมือนปัทมา มีพระเกศที่นุ่มสละสลวย มีสีผิวสีทองแดง และมีดวงจันทร์ที่มีขนาดเป็นหนึ่งในสี่ส่วน ๑ ดวงอยู่บนพระนลาฏของพระนาง ประทับอยู่บนหลังเสือโคร่ง ทรงทำยุทธกับมหิษาสูรซึ่งเป็นลูกของอสูรรัมภะกับนางกระบือ ผู้ที่ได้รับพรจากพระพรหมให้เป็นอมตะ และรบชนะทั้ง ๓ โลก


== พระลักษณะ ==
พระแม่ทุรคาทรงมีเครื่องแต่งกายสีฟ้ามหาสมุทรที่แวววาวและสีแดง และส่องแสงรัศมีที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความปรานี ครั้งแรกผู้ที่มาร่วมกันสร้างพระแม่ทุรคามหาเทวีคิดแต่จะสังหารจอมอสูรมหิงสางสามโลกเพื่อสันติสุขของสามโลกเท่านั้น ลืมคิดไปว่า เมื่อสร้างพระแม่ทุรคามหาเทวีให้มีฤทธิ์เท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีรวมกันขึ้นมาแล้ว สักวันหนึ่งถ้าพระแม่ทุรคามหาเทวีเกิดแผลงฤทธิ์ขึ้นมาเหมือนพวกจอมอสูรก็จะไม่มีผู้ใดที่จะสามารถปราบพระแม่ทุรคาลงได้แน่
[[ไฟล์:Durga kill 2 demons.jpg|thumb|left|ภาพพระแม่ทุรคาปราบอสูรในลักษณะ 10 กร]]

พระแม่ทุรคาอยู่ในลักษณะของกัลยาผู้ที่สุนทรที่สุดในสามโลก มี ๑๐-๑๘ กร ถืออาวุธครบมือ ที่มีอำนาจไม่สิ้นสุด มีกายที่สว่างมาก มีพระเนตร ๓ ดวงที่มีลักษณะเหมือนปัทมา มีพระเกศที่นุ่มสละสลวย มีสีผิวสีทองแดง และมีดวงจันทร์ที่มีขนาดเป็นหนึ่งในสี่ส่วน ๑ ดวงอยู่บนพระนลาฏของพระนาง ประทับอยู่บนหลัง[[สิงโต]] หรือ[[เสือ]] ทรงทำยุทธกับมหิษาสูรซึ่งเป็นลูกของอสูรรัมภะกับนาง[[ควาย|กระบือ]] ซึ่งได้รับพรจาก[[พระพรหม]]ให้เป็นอมตะ และรบชนะทั้ง ๓ โลก <ref>[http://mahathep.exteen.com/20080420/entry พระแม่ทุรคามหาเทวี]</ref> พระแม่ทุรคาทรงมีเครื่องแต่งกายสีฟ้ามหาสมุทรที่แวววาวและสีแดง และส่องแสงรัศมีที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความปรานี
เมื่อพระแม่ทุรคาทรงทราบถึงความวิตกของเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลายด้วยทิพย์ญาณ

จึงทรงประกาศว่า พระนางเกิดจากมหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลาย ดังนั้นเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลายจึงเป็นเสมือนผู้ให้กำเนิดพระองค์ พระองค์เปรียบเสมือนธิดาของทุกพระองค์ จะไม่ทำการสิ่งใดที่ไม่สมควรเป็นอันขาด เพื่อความสบายใจของทุกฝ่าย พระองค์จะไปบำเพ็ญศีลภาวนา ณ แดนบาดาลจะไม่มายุ่งเกี่ยวกับโลกทั้งสามอีก แต่ยามใดที่เกิดภัยแก่สามโลกต้องการให้พระองค์ช่วยพระองค์จะเสด็จมาช่วยทันที เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจแล้วพระองค์ก็จะเสด็จกลับไปอยู่ ณ แดนบาดาลต่อไป

'''ความแตกต่างระหว่าง พระแม่อุมา กับ พระแม่ทุรคา'''

พระแม่อุมาเทวี กับ พระแม่ทุรคาเทวี มีลักษณะหน้าตาคล้ายคลึงกัน ทำให้มีผู้สับสน เข้าใจผิด หรือมองสลับกันเสมอๆ โดยเฉพาะในงานภาพเขียน รูปบูชาของอินเดีย มักจะมีการวาดให้คล้ายๆกัน จึงขอแนะนำข้อสังเกตเบื้องต้นง่ายๆ ดังนี้

- พระแม่ทุรคา รูปภาพส่วนใหญ่จะวาดให้ทรงพาหนะ เสือ (ส่วนน้อยจะเป็นสิงโต)

- พระแม่อุมา รูปภาพส่วนใหญ่จะวาดให้ทรงพาหนะ สิงโต (ส่วนน้อยจะทรงพาหนะเสือ)

แต่ถ้าหากในรูปภาพนั้นไม่ได้ทรงพาหนะใดๆ

ให้สังเกตที่ พระกร-พระหัตถ์ (แขนและมือ) ที่ทรง ศาสตราวุธ (อาวุธ) ดังนี้

- พระแม่อุมา มักมี ๔ - ๘ พระกร หากปรากฎคู่กับพระศิวะไม่ค่อยมีศาสตราวุธใดๆ

จะเป็นลักษณะประทานพรหรืออุ้มพระพิฆเนศและพระขันทกุมาร

- พระแม่ทุรคา มักมีมากกว่า ๘,๑๐,๑๒,๑๖ กรขึ้นไป และทรงศาสตราวุธครบถ้วน

และมักจะมีอสูรที่ชื่อ มหิษาสูร ที่กำลังถูกพระแม่ทุรคาใช้ตรีศูล (สามง่าม) หรือ ดาบ แทงอยู่ด้วย

พระแม่กาลี (काली, Kālī, แปลว่า หญิงดำ) นั้น คือ อวตารภาคหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี มีอำนาจฤทธิ์ในการปราบปรามสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง มีเทวานุภาพอันแรงกล้า สร้างความวิบัติแก่เหล่าอสูรอย่างรุนแรง เด็ดขาด แฝงเร้นไว้ซึ่งความน่ากลัว อวตารมาเพื่อปราบ มาธูอสูร ผู้ได้รับพรจากพระศิวะให้มีชีวิตเป็นอมตะ เมื่อเลือดหยดลงพื้นก็จะเกิดอสูรขึ้นมาไม่สิ้นสุด

== พ ==


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Durga}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Durga}}


{{เทวดา}}
{{เทพและคัมภีร์ในศาสนาฮินดู}}
{{เทพและคัมภีร์ในศาสนาฮินดู}}
{{Hindudharma}}
{{Hindudharma}}

{{เรียงลำดับ|ทุรคา}}
[[หมวดหมู่:พระอุมา]]
[[หมวดหมู่:พระอุมา]]
[[หมวดหมู่:เทวีในศาสนาฮินดู]]
{{โครงความเชื่อ}}
{{โครงความเชื่อ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:49, 12 สิงหาคม 2561

จำพวก เทวี พาหนะ สิงโต อาวุธ จักร สังข์ ดาบ คฑา ธนู ตรีศูล
พระแม่ทุรคาทรงปราบอสูรในลักษณะ 18 กร

พระแม่ทุรคา (สันสกฤต: ทุรฺคา) หรือ พระแม่มหิษาสุรมรรทินี เป็นปางหนึ่งของพระปารวตี มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ไม่ว่าทั้งเทพเจ้า มนุษย์ อสูร แม้แต่พระศิวะ พระพรหม หรือพระวิษณุ ก็ไม่อาจสังหารมหิษาสูรได้ [1] มีเพียงหญิงสาวที่ไม่ได้เกิดอย่างธรรมชาติ และเป็นหนึ่งในอำนาจทั้งหมดของจักรวาล ซึ่งก็คือพระแม่ทุรคา ซึ่งเกิดจากอำนาจทั้งปวงของเหล่าเทพเจ้า

ในช่วงประมาณเดือนกันยายน-ตุลาคมของทุกปี จะมีการบูชาพระแม่ทุรคาเรียกว่าเทศกาลนวราตรี มีการฉลองถึง 9 วัน 9 คืนด้วยกัน ในประเทศไทย งานฉลองนี้จะมีขึ้นประจำทุกปีที่วัดพระศรีมหาอุมาเทวี เขตบางรัก โดยมีการแห่ไปตามท้องถนนในเวลากลางคืนด้วยดอกดาวเรืองและเครื่องบูชาต่าง ๆ

พระลักษณะ

ภาพพระแม่ทุรคาปราบอสูรในลักษณะ 10 กร

พระแม่ทุรคาอยู่ในลักษณะของกัลยาผู้ที่สุนทรที่สุดในสามโลก มี ๑๐-๑๘ กร ถืออาวุธครบมือ ที่มีอำนาจไม่สิ้นสุด มีกายที่สว่างมาก มีพระเนตร ๓ ดวงที่มีลักษณะเหมือนปัทมา มีพระเกศที่นุ่มสละสลวย มีสีผิวสีทองแดง และมีดวงจันทร์ที่มีขนาดเป็นหนึ่งในสี่ส่วน ๑ ดวงอยู่บนพระนลาฏของพระนาง ประทับอยู่บนหลังสิงโต หรือเสือ ทรงทำยุทธกับมหิษาสูรซึ่งเป็นลูกของอสูรรัมภะกับนางกระบือ ซึ่งได้รับพรจากพระพรหมให้เป็นอมตะ และรบชนะทั้ง ๓ โลก [2] พระแม่ทุรคาทรงมีเครื่องแต่งกายสีฟ้ามหาสมุทรที่แวววาวและสีแดง และส่องแสงรัศมีที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความปรานี

อ้างอิง