ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เล่าจื๊อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:444F:360F:4167:7923:C363:7724 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
เพิ่มเติมเนื้อหา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


'''เล่าจื๊อ''' ({{Zh-all|老子|p=Lǎo zǐ}}; {{lang-en|Lao Zi หรือ Lao Tzu}}) [[นักปรัชญา]]ชาวจีนที่มีชื่อเสียงที่สุดท่านหนึ่ง เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในช่วง 500 ปี [[ก่อนคริสต์ศักราช]] ในช่วงของสงครามปรัชญา และสงครามการเมือง[[ยุคชุนชิว]] เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผนในทางเต๋า นั่นคือ "[[เต้าเต๋อจิง|เต๋าเต็กเก็ง]]" (Tao Te Ching) (道德經) ซึ่งเป็นผลงานทาง[[ลัทธิเต๋า]]ที่ยังคงตกทอดมาถึงยุคปัจจุบันนี้ เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์ที่เชี่ยวชาญทาง[[เต๋า]] [[ประวัติศาสตร์]] [[ภูมิศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์]]
'''เล่าจื๊อ''' ({{Zh-all|老子|p=Lǎo zǐ}}; {{lang-en|Lao Zi หรือ Lao Tzu}}) [[นักปรัชญา]]ชาวจีนที่มีชื่อเสียงที่สุดท่านหนึ่ง เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในช่วง 500 ปี [[ก่อนคริสต์ศักราช]] ในช่วงของสงครามปรัชญา และสงครามการเมือง[[ยุคชุนชิว]] เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผนในทางเต๋า นั่นคือ "[[เต้าเต๋อจิง|เต๋าเต็กเก็ง]]" (Tao Te Ching) (道德經) ซึ่งเป็นผลงานทาง[[ลัทธิเต๋า]]ที่ยังคงตกทอดมาถึงยุคปัจจุบันนี้ เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์ที่เชี่ยวชาญทาง[[เต๋า]] [[ประวัติศาสตร์]] [[ภูมิศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์]]

'''ชีวประวัติบรมครูเล่าจื้อ'''

ประวัติของเหลาจื่อตามจดหมายเหตุ “สื่อจี้” (史记)ระบุว่า เหลาจื่อแซ่ “หลี่” (李)ชื่อ “เอ๋อร์” (耳) มีชีวิตอยู่ช่วงตอนกลางของราชวงศ์โจว (周朝) เป็นชาวแคว้นเฉิน เกิดเมื่อ 551 ปีก่อน ค.ศ. พออายุ 27 ปีท่านบรมครูเล่าจื้อสำเร็จมรรคเต๋า ผมสีดำเปลื่ยนเป็นสีขาว และได้สร้างโรงเรียนเปิดสอนหลักแห่งเต๋า หรือธรรมชาติ หลักธรรมคำสอนเรียบง่าย เช่น การทำความดี ถ้ามิทำเพื่อตนเอง ก็ควรทำเพื่อคนอื่น แล้วผลดีก็จะกลับมาสู่ผู้กระทำความดี บรมครูเล่าจื้อ ท่านมีศิษย์ 2 คน คือ หม่าถง และถงซิง เล่าจื้อนั้นเกิดที่แคว้นเฉิน ต่อมาถูกแคว้นฉู่รุกรานครอบครองแคว้นเฉินนอยู่ในมณฑลเหอหนาน(河南)) ทำหน้าที่ดูแลหอพระสมุดหลวงแห่งราชสำนักโจว ต่อมาราชสำนักเสื่อมโทรม จึงออกแสวงหาความวิเวก จดหมายเหตุ “จฺว่อจ้วน”(左传)

ขี่ควายมุ่งสู่ทะเลทรายไปยังชมพูทวีป ระหว่างทางผ่านด่านหานกู่ "อิ๋นสี่" อดีตเสนาบดีแห่งแคว้นโจว ได้อาสาเทียนจื่อ แห่งค้าโจว มาเป็นขุนนางดูแลด่านหานกู่ เพื่อป้องกันแคว้นฉินรุกราน เนื่องจากได้ยินชื่อเสียงของท่านมานานจึงต้อนรับท่านด้วยมิตรจิตมิตรใจอันอบอุ่น ก่อนจากไป อิ๋นสี่พูดกับท่านว่า "ท่านจะไปแล้ว โปรดเขียนหนังสือสักเล่มให้เราเถิด" ครั้นแล้ว ท่านเหลาจื่อจึงเขียนหนังสือไว้ 1 เล่ม

'''คำสอนของเล่าจื้อ'''

立而不改 มีวิธีทางนำไปสู่เต๋า และเต๋ายืนยงและยืนโดยมิเปลี่ยนแปลง

可以為天地 เต๋า 大 ยิ่งใหญ่เหนือกว่าทั้งโลกและสวรรค์

'''คำสอนของเล่าจื้อ แผ่นที่ 3'''

มูลเหตุแห่งทุกข์ อันได้แก่ การแก่งแย่ง การลักขโมย การยึดถือตัวตน ความอยาก

เมื่อขจัดมูลเหตุแห่งทุกข์ดังมักกล่าวได้

ดวงใจประชาก็จะบริสุทธิ์

เมื่อมีผู้ปกครองที่เป็นปราชญ์ จะหาหนทางทำให้ประชาชน อิ่มท้อง มีความพอดี ลดความอยากที่ฟุ่มเฟือย ส่งเสริมสุขภาพกาย ความคิด ความปรารถนา และจิตใจของชาวประชา ให้จิตใจว่างจากความมูลเหตุแห่งทุกข์ ทำจิตใจให้สะอาดและบริสุทธิ์

คนฉ้อฉลก็จะกลัวเกรงและละอาย มิกล้าทุจริต

นี่คือการปกครองโดยมิต้องปกครอง เมื่อนักปกครองที่เป็นปราชญ์ดำเนินตามนี้แล้ว  การปกครองก็จะดำเนินไปอย่างมีระเบียบ เรียกว่า การปกครองโดยมิต้องมีการปกครอง


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:36, 10 สิงหาคม 2561

เล่าจื๊อ, จาก ไมท์แอนด์ลีเจนส์ออฟไชน่า, ค.ศ. 1922 โดย อี.ที.ซี. เวอร์เนอร์

เล่าจื๊อ (พินอิน: Lǎo zǐ; อังกฤษ: Lao Zi หรือ Lao Tzu) นักปรัชญาชาวจีนที่มีชื่อเสียงที่สุดท่านหนึ่ง เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในช่วง 500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ในช่วงของสงครามปรัชญา และสงครามการเมืองยุคชุนชิว เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผนในทางเต๋า นั่นคือ "เต๋าเต็กเก็ง" (Tao Te Ching) (道德經) ซึ่งเป็นผลงานทางลัทธิเต๋าที่ยังคงตกทอดมาถึงยุคปัจจุบันนี้ เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์ที่เชี่ยวชาญทางเต๋า ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์

ชีวประวัติบรมครูเล่าจื้อ

ประวัติของเหลาจื่อตามจดหมายเหตุ “สื่อจี้” (史记)ระบุว่า เหลาจื่อแซ่ “หลี่” (李)ชื่อ “เอ๋อร์” (耳) มีชีวิตอยู่ช่วงตอนกลางของราชวงศ์โจว (周朝) เป็นชาวแคว้นเฉิน เกิดเมื่อ 551 ปีก่อน ค.ศ. พออายุ 27 ปีท่านบรมครูเล่าจื้อสำเร็จมรรคเต๋า ผมสีดำเปลื่ยนเป็นสีขาว และได้สร้างโรงเรียนเปิดสอนหลักแห่งเต๋า หรือธรรมชาติ หลักธรรมคำสอนเรียบง่าย เช่น การทำความดี ถ้ามิทำเพื่อตนเอง ก็ควรทำเพื่อคนอื่น แล้วผลดีก็จะกลับมาสู่ผู้กระทำความดี บรมครูเล่าจื้อ ท่านมีศิษย์ 2 คน คือ หม่าถง และถงซิง เล่าจื้อนั้นเกิดที่แคว้นเฉิน ต่อมาถูกแคว้นฉู่รุกรานครอบครองแคว้นเฉินนอยู่ในมณฑลเหอหนาน(河南)) ทำหน้าที่ดูแลหอพระสมุดหลวงแห่งราชสำนักโจว ต่อมาราชสำนักเสื่อมโทรม จึงออกแสวงหาความวิเวก จดหมายเหตุ “จฺว่อจ้วน”(左传)

ขี่ควายมุ่งสู่ทะเลทรายไปยังชมพูทวีป ระหว่างทางผ่านด่านหานกู่ "อิ๋นสี่" อดีตเสนาบดีแห่งแคว้นโจว ได้อาสาเทียนจื่อ แห่งค้าโจว มาเป็นขุนนางดูแลด่านหานกู่ เพื่อป้องกันแคว้นฉินรุกราน เนื่องจากได้ยินชื่อเสียงของท่านมานานจึงต้อนรับท่านด้วยมิตรจิตมิตรใจอันอบอุ่น ก่อนจากไป อิ๋นสี่พูดกับท่านว่า "ท่านจะไปแล้ว โปรดเขียนหนังสือสักเล่มให้เราเถิด" ครั้นแล้ว ท่านเหลาจื่อจึงเขียนหนังสือไว้ 1 เล่ม

คำสอนของเล่าจื้อ

立而不改 มีวิธีทางนำไปสู่เต๋า และเต๋ายืนยงและยืนโดยมิเปลี่ยนแปลง

可以為天地 เต๋า 大 ยิ่งใหญ่เหนือกว่าทั้งโลกและสวรรค์

คำสอนของเล่าจื้อ แผ่นที่ 3

มูลเหตุแห่งทุกข์ อันได้แก่ การแก่งแย่ง การลักขโมย การยึดถือตัวตน ความอยาก

เมื่อขจัดมูลเหตุแห่งทุกข์ดังมักกล่าวได้

ดวงใจประชาก็จะบริสุทธิ์

เมื่อมีผู้ปกครองที่เป็นปราชญ์ จะหาหนทางทำให้ประชาชน อิ่มท้อง มีความพอดี ลดความอยากที่ฟุ่มเฟือย ส่งเสริมสุขภาพกาย ความคิด ความปรารถนา และจิตใจของชาวประชา ให้จิตใจว่างจากความมูลเหตุแห่งทุกข์ ทำจิตใจให้สะอาดและบริสุทธิ์

คนฉ้อฉลก็จะกลัวเกรงและละอาย มิกล้าทุจริต

นี่คือการปกครองโดยมิต้องปกครอง เมื่อนักปกครองที่เป็นปราชญ์ดำเนินตามนี้แล้ว  การปกครองก็จะดำเนินไปอย่างมีระเบียบ เรียกว่า การปกครองโดยมิต้องมีการปกครอง

ประวัติ

ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เรารู้จักเล่าจื๊อ (เหลาจื่อ) น้อยมาก แต่มีพงศาวดารจีนหลายชิ้นที่กล่าวถึงเล่าจื๊อ ในฐานะที่เป็นผู้แต่งคัมภีร์ เต๋าเต็กเก็ง หรือ เต้าเต๋อจิง ซึ่งเนื้อหาในคัมภีร์นี้ มีความสำคัญกับวัฒนธรรมจีนในรุ่นต่อๆมาอย่างมาก ถือได้ว่าเทียบเท่าได้กับ ขงจื๊อ ตามพงศาวดารระบุไว้ว่า เล่าจื๊อ เกิดในแคว้นขู่ (苦縣 Kǔ Xiàn) ซึ่งในปัจจุบันคือบริเวณ อำเภอลู่อี้ (鹿邑) ของมณฑลเหอหนาน บางตำนานกล่าวไว้ว่าเล่าจื๊อเมื่อเกิดมามีผมสีขาว และอยู่ในครรภ์มารดานานถึง 8 ทศวรรษ หรือ 80 ปี ชื่อของเล่าจื๊อแปลโดยนัยได้ 2 แบบว่า "อาจารย์ผู้อาวุโส" หรือ "เด็กผู้อาวุโส" เกิดที่หมู่บ้านชีเหยินลี อำเภอขู่เสี้ยน แคว้นฉู่ เมื่อวันที่ 15 เดือนยี่ ก่อนค.ศ.ราว 576 ปี (ก่อนพ.ศ. 33 ปี)

จากพงศาวดารของซือหม่า เชียน กล่าวว่า เล่าจื๊อมีอายุมากกว่าขงจื๊อ แต่อยู่ในยุคสมัยเดียวกัน และเคยได้พบปะเสวนากัน เล่าจื๊อได้ทำงานในราชวงศ์โจว ขงจื๊อและเล่าจื๊อได้มาพบเจอโดยบังเอิญกันในแคว้นโจว (ปัจจุบันคือแถบเมืองลั่วหยาง) โดยขงจื๊อได้มาค้นหาตำราในห้องสมุด จากเรื่องเล่านี้ ทั้งสองได้แลกเปลี่ยนทรรศนะคติความเห็นในหลายๆด้าน เป็นเวลาหลายเดือน หลังจากการเสวนาในครั้งนี้ ขงจื๊อกล่าวว่า "การได้เสวนากับท่านเล่าจื๊อ ถือว่าเป็นการศึกษาที่ล้ำลึก และดีเยี่ยมกว่าหนังสือในห้องสมุดเสียอีก"

ผลงาน

ผลงานที่สำคัญที่สุดของเล่าจื๊อคือ "คัมภีร์เต๋าเต็กเก็ง หรือ เต้าเต๋อจิง" เป็นคัมภีร์ที่มีอักษรจีน 5,000 อักษร ซึ่งมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของประเทศจีนอย่างมาก โดยภายในคัมภีร์นั้น มีเนื้อหาในด้านปรัชญาบุคคล ความกลมกลืนต่อการใช้ชีวิตกับธรรมชาติ จนไปถึงปรัชญาการเมือง

จากการตีความ คำว่า "เต๋า" ในคัมภีร์ มักจะหมายถึง มรรค หรือ หนทาง (The way) หรือ ธรรม ซึ่งมีความหมายกว้าง ๆ และมักตีความหมายในแนวเป็นไปตามธรรมชาติ การกระทำที่สอดคล้องกับวิถีแห่งเต๋าใดๆ จะสามารถบรรลุมรรคผลได้โดยง่าย เล่าจื๊อเชื่อว่า ควรหลีกเลี่ยงความรุนแรงต่างๆเท่าที่จะเป็นไปได้ ส่วนคำว่า "เต็ก หรือ เต๋อ" นั้นหมายถึง "คุณธรรม" คัมภีร์นี้แบ่งออกเป็น 81 บทด้วยกัน

ถึงแม้ว่าเล่าจื๊อจะไม่ได้ปลูกฝังวัฒนธรรมหยั่งลึกได้เทียบเท่ากับ ขงจื๊อ ในอารยธรรมจีน แต่ท่านก็ยังเป็นที่เคารพนับถือโดยทั่วไป ทั้งแนวความคิดและการปฏิบัติตามหนทางแห่งเต๋า

อิทธิพลต่อปัญญาชนรุ่นหลัง

ผู้ติดตามเล่าจื้อที่มีชื่อเสียงที่สุดคือจวงจื๊อ (Zhuang Zi) ได้เขียนตำราที่มีอิทธิพลต่อวงการวรรณกรรมของจีนมาก โดยให้ข้อคิดเกี่ยวกับ ปัจเจกนิยม, วิมุตติ และ ความปราศจากกังวล

อ้างอิง

  • Ariel, Yoav, and Gil Raz. “Anaphors or Cataphors? A Discussion of the Two qi 其 Graphs in the First Chapter of the Daodejing.” PEW 60.3 (2010): 391–421.
  • Bellamy, James A.B. Some Proposed Emendations to the Text of the Koran, The Journal of the American Oriental Society 113.4 (1993), citing work by Aad Vervoorn
  • Boaz, David (1998). The libertarian reader: classic and contemporary readings from Lao-tzu to Milton Friedman. New York: Free Press. ISBN 0-684-84767-1.
  • Creel, Herrlee G. (1982). What Is Taoism?: and Other Studies in Chinese Cultural History. Chicago: University of Chicago Press. ISBN 0-226-12047-3.
  • Dumoulin, Heinrich (2005). Zen Buddhism: A History (Volume 1: India and China ed.). Bloomington, IN: World Wisdom. ISBN 0941532895.
  • Dorn, James A. (2008). Hamowy, Ronald (บ.ก.). The Encyclopedia of Libertarianism. SAGE. p. 282. ISBN 1412965802. สืบค้นเมื่อ May 12, 2010.
  • Drompp, Michael Robert (2004). Tang China And The Collapse Of The Uighur Empire: A Documentary History. Brill Academic Publishers. ISBN 9004140964.
  • Fowler, Jeaneane (2005). An Introduction To The Philosophy And Religion Of Taoism: Pathways To Immortality. Brighton: Sussex Academic Press. ISBN 1-84519-085-8.
  • Kohn, Livia (2000). Daoism Handbook (Handbook of Oriental Studies / Handbuch der Orientalisk — Part 4: China, 14). Boston: Brill Academic Publishers. ISBN 90-04-11208-1.
  • Kohn, Livia & Lafargue, Michael, editors (1998). Lao-Tzu and the Tao-Te-Ching. Albany: State University of New York Press. ISBN 0791435997. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Komjathy, Louis. Handbooks for Daoist Practice. 10 vols. Hong Kong: Yuen Yuen Institute, 2008.
  • Kramer, Kenneth (1986). World scriptures: an introduction to comparative religions. New York, NY: Paulist Press. ISBN 0-8091-2781-4.
  • Long, Roderick T. Austro-Libertarian Themes in Early Confucianism, The Journal of Libertarian Studies Vol XVII No 3 (Summer 2003), pp. 35–62. [1]PDF (129 KiB)
  • Luo, Jing (2004). Over a cup of tea: an introduction to Chinese life and culture. Washington, D.C: University Press of America. ISBN 0-7618-2937-7.
  • Maspero, Henri (1981). Taoism and Chinese religion. Amherst: University of Massachusetts Press. ISBN 0-87023-308-4.
  • Morgan, Diane (2001). The Best Guide to Eastern Philosophy and Religion. New York: St. Martin's Griffin. ISBN 1-58063-197-5.
  • Porter, Bill (Red Pine) (2009). Lao-Tzu's Taoteching. Port Townsend, WA: Copper Canyon Press. ISBN 978-1-55659-290-4.
  • Renard, John (2002). 101 Questions and answers on Confucianism, Daoism, and Shinto. New York, NY: Paulist Press. ISBN 0-8091-4091-8.
  • Roberts, Moss (2004). Dao De Jing: The Book of the Way. Berkeley: University of California Press. ISBN 0-520-24221-1.
  • Robinet, Isabelle (1997). Taoism: Growth of a Religion. Stanford University Press. ISBN 0804728399.
  • Rothbard, Murray N. The Ancient Chinese Libertarian Tradition, Ludwig von Mises Institute (2005).[2]
  • Rothbard, Murray N. Concepts in the Role of Intellectuals in Social Change Towards Laissez Faire, The Journal of Libertarian Studies Vol IX No 2 (Fall 1990), pp. 43–67.[3]PDF (1.20 MiB)
  • Simpkins, Annellen M.; Simpkins, C. Alexander (1999). Taoism: a guide to living in the balance. Boston: Tuttle Pub. ISBN 0-8048-3173-4.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Van Norden, Bryan W.; Ivanhoe, Philip J. (2005). Readings in Classical Chinese Philosophy. Indianapolis, Ind: Hackett Publishing Company. ISBN 0-87220-780-3.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Watson, Burton (1968). Complete Works of Chuang Tzu. New York: Columbia Univ. Press (UNESCO Collection of Representative Works: Chinese Series). p. 408. ISBN 0-231-03147-5.
  • Watts, Alan with Huan, Al Chung-liang (1975). Tao: The Watercourse Way. New York: Pantheon Books. p. 134. ISBN 0-394-73311-8.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น