ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Larazhivago (คุย | ส่วนร่วม)
+{{ต้องการอ้างอิง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์''' ({{lang-en|Dunning–Kruger effect}}) เป็น[[ความเอนเอียงทางประชาน]]ที่บุคคลด้อยความสามารถเกิด[[ความเหนือกว่าเทียม]] คือ การประเมินความสามารถของตนผิด ๆ สูงเกินจริง ดันนิงและครูเกอร์ว่า ความเอนเอียงนี้มีสาเหตุมาจากความไร้สามารถอภิประชาน (metacognitive incapacity) ในส่วนของผู้ด้อยความสามารถนั้น ที่จะรับรู้การขาดทักษะของพวกตนและประเมินสมรรถนะอย่างแม่นตรง การวิจัยดังกล่าวยังมีอนุนัยว่า บุคคลมากความสามารถอาจประเมินสมรรถนะโดยสัมพัทธ์ของตนต่ำกว่าจริง และอาจสันนิษฐานอย่างผิดพลาดว่างานพวกตนว่าง่ายสำหรับพวกตนจะง่ายสำหรับคนอื่นด้วย
'''ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์''' ({{lang-en|Dunning–Kruger effect}}) เป็น[[ความเอนเอียงทางประชาน]]ที่บุคคลด้อยความสามารถเกิด[[ความเหนือกว่าเทียม]] คือ การประเมินความสามารถของตนผิด ๆ สูงเกินจริง ดันนิงและครูเกอร์ว่า ความเอนเอียงนี้มีสาเหตุมาจากความไร้สามารถอภิประชาน (metacognitive incapacity) ในส่วนของผู้ด้อยความสามารถนั้น ที่จะรับรู้การขาดทักษะของพวกตนและประเมินสมรรถนะอย่างแม่นตรง การวิจัยดังกล่าวยังมีอนุนัยว่า บุคคลมากความสามารถอาจประเมินสมรรถนะโดยสัมพัทธ์ของตนต่ำกว่าจริง และอาจสันนิษฐานอย่างผิดพลาดว่างานพวกตนว่าง่ายสำหรับพวกตนจะง่ายสำหรับคนอื่นด้วย



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:22, 3 สิงหาคม 2561

ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ (อังกฤษ: Dunning–Kruger effect) เป็นความเอนเอียงทางประชานที่บุคคลด้อยความสามารถเกิดความเหนือกว่าเทียม คือ การประเมินความสามารถของตนผิด ๆ สูงเกินจริง ดันนิงและครูเกอร์ว่า ความเอนเอียงนี้มีสาเหตุมาจากความไร้สามารถอภิประชาน (metacognitive incapacity) ในส่วนของผู้ด้อยความสามารถนั้น ที่จะรับรู้การขาดทักษะของพวกตนและประเมินสมรรถนะอย่างแม่นตรง การวิจัยดังกล่าวยังมีอนุนัยว่า บุคคลมากความสามารถอาจประเมินสมรรถนะโดยสัมพัทธ์ของตนต่ำกว่าจริง และอาจสันนิษฐานอย่างผิดพลาดว่างานพวกตนว่าง่ายสำหรับพวกตนจะง่ายสำหรับคนอื่นด้วย