ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยวน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phadungpong chantayos (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ตามเดิมแบบสากล เพิ่มโดยไม่มีอ้างอิง
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{Infobox ethnic group
{{Infobox ethnic group
| group = ไทยวน
| group = ไทยวน
| image = Thai dancer Chiang Mai 2005 045.jpg
| image_caption = taim.jpg
| image_caption = การรำของไทยวนใน[[จังหวัดเชียงใหม่]]
| population = 6 ล้านคน<ref name=ethno>Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. [http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=nod Entry for Northern Thai] Dallas, Tex.: SIL International.</ref>
| population = 6 ล้านคน<ref name=ethno>Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. [http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=nod Entry for Northern Thai] Dallas, Tex.: SIL International.</ref>
| popplace = [[ประเทศไทย]], [[ประเทศลาว]] ([[ห้วยทราย]], [[แขวงบ่อแก้ว]] และ [[แขวงไชยบุรี]]),([[ประเทศพม่า]])
| popplace = [[ประเทศไทย]], [[ประเทศลาว]] ([[ห้วยทราย]], [[แขวงบ่อแก้ว]] และ [[แขวงไชยบุรี]])
| rels = ส่วนใหญ่ [[Image:Dharma Wheel.svg|16px]] [[เถรวาท|พุทธเถรวาท]] ส่วนน้อย [[ศาสนาคริสต์]]
| rels = ส่วนใหญ่ [[Image:Dharma Wheel.svg|16px]] [[เถรวาท|พุทธเถรวาท]] ส่วนน้อย [[ศาสนาคริสต์]]
| langs = [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ|คำเมือง]] (มักพูดสองภาษากับ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]])
| langs = [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ|คำเมือง]] (มักพูดสองภาษากับ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]])
บรรทัด 10: บรรทัด 11:
}}
}}


'''ไทยวน''' (อ่านว่า ''ไท-ยวน'') หรือ '''ไตยวน''' (อ่านว่า ''ไต-ยวน'') หรือ '''คนเมือง''' เป็น[[กลุ่มประชากร]]ที่พูดภาษา[[ตระกูลภาษาไท-กะได]]กลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดใน[[อาณาจักรล้านนา]] ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" ชาว'''ไทยวน'''จัดอยู่ในตระกูลเดียวกับ[[ไทใหญ่]]และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน
'''ไทยวน''' (อ่านว่า ''ไท-ยวน'') หรือ '''ไตยวน''' (อ่านว่า ''ไต-ยวน'') หรือ '''คนเมือง''' เป็น[[กลุ่มประชากร]]ที่พูดภาษา[[ตระกูลภาษาไท-กะได]]กลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดใน[[อาณาจักรล้านนา]] ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน


ตามตำนานสิงหนวัศิกล่าวว่า สิงหนวัศิกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ใน[[มณฑลยูนนาน]] มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า “'''โยนกนคร'''” เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า “'''ยวน'''” ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง “โยนก” นั่นเอง{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อยๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปใน[[อาณาจักรล้านนา]] ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า ได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ และปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี
ตามตำนานสิงหนวัศิกล่าวว่า สิงหนวัศิกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ใน[[มณฑลยูนนาน]] มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า “'''โยนกนคร'''” เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า “'''ยวน'''” ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง “โยนก” นั่นเอง{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อยๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปใน[[อาณาจักรล้านนา]] ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า ได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ และปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี
บรรทัด 20: บรรทัด 21:


{{คำพูด|"เราได้แล้วเห็นจังหวัดลาว (ล้านนา) ต่างๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสยามนั้น เคยเป็นมลรัฐอิสระมาจนกระทั่ง[[พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์]]สิ้นพระชนม์ แต่แอกของสยามนั้นเบาและอารีมาก พวกล้านนาไม่ได้ถูกสยบในสงคราม แต่เข้ามาสู่ความเกี่ยวพันกับสยามโดยความเต็มใจของตัวเอง เพื่อจะหนีการปกครองของพม่า ด้วยเหตุที่ทั้งตำแหน่งที่ตั้งและความอ่อนแอของรัฐเหล่านี้ ทำให้มีความจำเป็นที่พวกเขาจะต้องมองไปที่อาณาจักรคู่แข่งขันในภูมิภาค เพื่อขอความคุ้มครองจากอีกรัฐหนึ่ง ... ธรรมชาติได้สร้างให้ประเทศลาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสยามมากกว่าใครอื่น การคมนาคมติดต่อกับทะเลจำต้องผ่าน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และ[[แม่น้ำเจ้าพระยา#ลำน้ำสาขา|ลำน้ำสาขา]] ในขณะที่แนวทิวเขาสูงแยกดินแดนนี้ออกจากพม่า ทั้งในทางชาติพันธ์และภาษาก็เช่นกัน พวกนี้เป็นคนสยาม และไม่ใช่คนพม่า"|แม็คกิลวารี, กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว, หน้า 191{{sfn|McGilvary|1912|page=191}}}}
{{คำพูด|"เราได้แล้วเห็นจังหวัดลาว (ล้านนา) ต่างๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสยามนั้น เคยเป็นมลรัฐอิสระมาจนกระทั่ง[[พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์]]สิ้นพระชนม์ แต่แอกของสยามนั้นเบาและอารีมาก พวกล้านนาไม่ได้ถูกสยบในสงคราม แต่เข้ามาสู่ความเกี่ยวพันกับสยามโดยความเต็มใจของตัวเอง เพื่อจะหนีการปกครองของพม่า ด้วยเหตุที่ทั้งตำแหน่งที่ตั้งและความอ่อนแอของรัฐเหล่านี้ ทำให้มีความจำเป็นที่พวกเขาจะต้องมองไปที่อาณาจักรคู่แข่งขันในภูมิภาค เพื่อขอความคุ้มครองจากอีกรัฐหนึ่ง ... ธรรมชาติได้สร้างให้ประเทศลาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสยามมากกว่าใครอื่น การคมนาคมติดต่อกับทะเลจำต้องผ่าน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และ[[แม่น้ำเจ้าพระยา#ลำน้ำสาขา|ลำน้ำสาขา]] ในขณะที่แนวทิวเขาสูงแยกดินแดนนี้ออกจากพม่า ทั้งในทางชาติพันธ์และภาษาก็เช่นกัน พวกนี้เป็นคนสยาม และไม่ใช่คนพม่า"|แม็คกิลวารี, กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว, หน้า 191{{sfn|McGilvary|1912|page=191}}}}
<blockquote>ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยาม</blockquote>


ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป
= ประเพณีและวัฒนธรรม =
ไทยวน มีนิสัยสันโดษ รักสงบ รักธรรมชาติ เกื้อกูลต่อกัน ผิวขาวเจือเหลือง เชื่อถือ ยกย่องในบรรพบุรุษ ศรัทธาและนับถือพระพุทธศาสนา มีความเคารพและปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ตามกฎมังรายศาตร์คนไทยวน มีภาษาพูดของตนเองเรียกว่า ฟู่อู้กำเมือง มีวรรณยุคเสียงสูง ต่ำ กลาง ซึ่งเป็นการบอกถึงอารมณ์ได้เป็นอย่างดี มีภาษาอักษรเขียนเรียกว่า ตั๋วเมือง

= ภาษา =
ชาวไทยวน มีภาษาพูดภาษาเขียนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง อักษรของชาวไทยวน มีใช้มาเป็นเวลานานแล้ว เมื่อได้อพยพมาอยู่ที่สระบุรี ก็นำเอาอักษรเหล่านั้นมาใช้ด้วย ใช้เขียนลงในสมุดข่อยหรือจารบนใบลาน ชาวไทยวนเรียกอักษรนี้ว่า หนังสือยวน เรื่องที่บันทึกลงใบข่อยหรือสมุดไทย มักจะเป็นตำราหมอดู ตำราสมุนไพร เวทมนต์คาถาต่างๆ ส่วนเรื่องที่จารลง ใบลาน จะเป็นพระธรรมเทศนาเป็นส่วนใหญ่ ชาวไทยวนมักนิยมถวายคัมภีร์เทศน์ เพราะเชื่อว่าได้บุญมากส่วนใหญ่มักเป็นเรื่อง เวสสันดรชาดก ยอดพระไตรปิฎกคัมภีร์ยวนฉบับต่างๆได้รับต้นฉบับมาจากฝ่ายเหนือ เมื่อได้มาก็คัดลอกจารต่อๆกันมา ชาวไทยวนมีการร้องเพลง เรียกว่า จ๊อย เป็นการร้องด้วยสำนวนโวหาร อาจจะเป็นการจ๊อยคนเดียว หรือจ๊อย โต้ตอบกันก็ได้ การจ๊อยนี้ จะไม่มีเครื่องดนตรีประกอบ เนื้อหาในการจ๊อย อาจจะเกี่ยวกับนิทานชาดก คำสอน ประวัติตลอดจนการเกี้ยวพาราสี

เรือนของชาวไทยวนนั้น มีเอกลักษณ์เฉพาะเรียกว่า เรือนเชียงแสนหรือเรือนกาแล กล่าวคือจะมีไม้ไขว้อยู่บนหลังคาเหนือจั่ว เรือนส่วนบนจะผายออก ที่เรียกว่า เรือน อกโตเอวคอด เมื่อชาวเชียงแสนได้อพยพมาอยู่ที่สระบุรีในตอนต้นนั้น มีการปลูกเรือนกาแลอยู่บ้าง ดังที่ปรากฏในงานจิตรกรรมฝาผนังวัดจันทรบุรี จากการสอบถามคนเฒ่าคนแก่ใน ชุมชนบ้าน เสาไห้ก็พบว่า แต่เดิมนั้นมีการปลูกเรือนกาแลอยู่บ้าง

= อาหาร =
ชาว'''ไทยวน'''บริโภคข้าวเหนียวเป็นหลัก อาการคาวที่มีชื่อและเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ได้แก่ แกงโฮ๊ะ ลาบ ผัดหมี่ ไส้อั่ว แคบหมู น้ำพริกหนุ่ม น้ำเงี้ยว นอกจากนี้ยังมีขนมที่เป็นอาหารหวาน ได้แก่ ขนมเทียน(ขนมจ็อก ขนมเนียบ) ข้าวแตน ข้าวหลาม ข้าวต้มมัด ที่นอกจากใช้เป็นอาหารแล้วใช้เพื่อประกอบพิธีกรรมและงานบุญต่างๆ ด้วย

ชาว'''ไทยวน'''มักใชถัวเน่าในการทำอาหารโดยการนำถั่วเหลืองมาหมักไว้แล้วนำมาแปรรูป เช่น ถั่วเน่าแข็บหรือถั่วเน่าแผ่น ถั่วเน่าเมอะหรือแอ๊บถั่วเน่า ซึ่งถัวเน่าแข็บนั้นสามารถนำมาประกอบอาหารได้หลายอย่าง เช่น น้ำเงียว น้ำพริกตาแดง ผักกาดจอ เป็นต้น ถัวเน่าแข็บจึงได้สมญานามว่าเป็นปลาร้าแห่งล้านนา อีกด้วย


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:13, 30 กรกฎาคม 2561

ไทยวน
การรำของไทยวนในจังหวัดเชียงใหม่
ประชากรทั้งหมด
6 ล้านคน[1]
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ประเทศไทย, ประเทศลาว (ห้วยทราย, แขวงบ่อแก้ว และ แขวงไชยบุรี)
ภาษา
คำเมือง (มักพูดสองภาษากับภาษาไทยกลาง)
ศาสนา
ส่วนใหญ่ พุทธเถรวาท ส่วนน้อย ศาสนาคริสต์
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

ไทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) หรือ คนเมือง เป็นกลุ่มประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาไท-กะไดกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน

ตามตำนานสิงหนวัศิกล่าวว่า สิงหนวัศิกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ในมณฑลยูนนาน มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า “โยนกนคร” เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า “ยวน” ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง “โยนก” นั่นเอง[ต้องการอ้างอิง] จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อยๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปในอาณาจักรล้านนา ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า ได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ และปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี

คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฎหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น[2] เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับชาวฉาน โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนฉานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐฉานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ฉานพม่า" (Burmese Shan)[3] แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลายๆกลุ่ม

ในปี พ.ศ. 2454 แดเนียล แม็คกิลวารี ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 - 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว"[4] เรียกคนในล้านนาปนๆไปว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมือง(อักษรล้านนา)ว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" แต่น่าจะเป็นเพียงเพื่อบ่งชี้ว่าคนไทยทางเหนือเคยปกครองตัวเองแยกจากสยามมาก่อน ซึ่งในตอนหนึ่งของหนังสือ แม็คกิลวารี ขยายความว่า

"เราได้แล้วเห็นจังหวัดลาว (ล้านนา) ต่างๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสยามนั้น เคยเป็นมลรัฐอิสระมาจนกระทั่งพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์สิ้นพระชนม์ แต่แอกของสยามนั้นเบาและอารีมาก พวกล้านนาไม่ได้ถูกสยบในสงคราม แต่เข้ามาสู่ความเกี่ยวพันกับสยามโดยความเต็มใจของตัวเอง เพื่อจะหนีการปกครองของพม่า ด้วยเหตุที่ทั้งตำแหน่งที่ตั้งและความอ่อนแอของรัฐเหล่านี้ ทำให้มีความจำเป็นที่พวกเขาจะต้องมองไปที่อาณาจักรคู่แข่งขันในภูมิภาค เพื่อขอความคุ้มครองจากอีกรัฐหนึ่ง ... ธรรมชาติได้สร้างให้ประเทศลาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสยามมากกว่าใครอื่น การคมนาคมติดต่อกับทะเลจำต้องผ่านแม่น้ำเจ้าพระยา และลำน้ำสาขา ในขณะที่แนวทิวเขาสูงแยกดินแดนนี้ออกจากพม่า ทั้งในทางชาติพันธ์และภาษาก็เช่นกัน พวกนี้เป็นคนสยาม และไม่ใช่คนพม่า"

— แม็คกิลวารี, กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว, หน้า 191[5]

ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

อ้างอิง

  1. Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. Entry for Northern Thai Dallas, Tex.: SIL International.
  2. Frederic Pain (2008), "An introduction to Thai ethnonymy: examples from Shan and Northern Thai", The Journal of the American Oriental Society
  3. Andrew Turton (2004), "Violent Capture of People for Exchange on Karen-Tai borders in the 1830s", Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia, London: Frank Cass, p. 73
  4. McGilvary, Daniel (1912). A HALF CENTURY AMONG THE SIAMESE AND THE LAO. London, Fleming H. Revell Comapny. p. 435. {{cite book}}: line feed character ใน |title= ที่ตำแหน่ง 21 (help)
  5. McGilvary 1912, p. 191.
  • สุรชัย จงจิตงาม. ท่องเที่ยว-เรียนรู้ ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง. [ม.ป.ท.] : [ม.ป.พ.], [ม.ป.ป.]. หน้า 16.