ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยวน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ตามสากล
Phadungpong chantayos (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:


ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป
ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

= ประวัติ =
• '''ประวัติศาสตร์'''

ตำนานโยนกนาคพันธุ์ ได้กล่าวว่า พ.ศ.639 พระเจ้าสิงหลวัติได้พาผู้คนจำนวนมากอพยพทางได้จากเมือง[[หนองแส]] น่านเจ้าต้าลีฟู ทางประเทศจีนตอนใต้ เพื่อแสวงหาที่ตั้งเมืองใหม่จนมาพบที่เมืองร้างเก่า ชื่อ สวรรโคมคำ (บริเวณที่ราบลุ่ม[[เชียงแสน]]ริมฝั่ง[[แม่น้ำโขง]]) และได้ตั้งชื่อเมืองนี้ว่า [[แคว้นโยนก|โยนกนาคพันธุ์]] ตั้งตนเป็นเจ้าเมืองลำดับที่ 1 ในราบวงศ์ สิงหลวัติ เรียกพลเมืองว่า ชาวโยนก

• '''อีกที่มาหนึ่ง'''

ตามตำนานสิงหนวัศิกล่าวว่า สิงหนวัศิกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ในแคว้น[[มณฑลยูนนาน|ยูนาน]] มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่[[เชียงแสน]] ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า “โยนกนคร” เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า “ยวน” ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง “โยนก” นั่นเอง

จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อยๆ ประชากร[[ไทยวน]] ก็แพร่หลายออกไปในล้านนาไทย ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า ได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ และปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี

พ.ศ. 2347 [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดฯ ให้ทัพหลวงไปตีพม่าออกจาก[[เชียงแสน]] พม่าแพ้ ท่านให้ทำลายเมือง และรวบรวมผู้คนชาวเมือง[[เชียงแสน]]ได้ 23,000 คน แบ่งคนเหล่านี้ออกเป็น 5 ส่วน ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่[[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]] ส่วนหนึ่งไปอยู่[[จังหวัดลำปาง|ลำปาง]] ส่วนหนึ่งไปอยู่[[จังหวัดน่าน|น่าน]] ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่[[เวียงจันทน์]] ส่วนหนึ่งนำมาใต้ โดยให้คน'''ยวน'''กลุ่มหนึ่ง ไปอยู่ที่[[จังหวัดสระบุรี|สระบุรี]]อีกกลุ่มหนึ่งให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่[[จังหวัดราชบุรี|ราชบุรี]]

= ประเพณีและวัฒนธรรม =
ไตยวน มีนิสัยสันโดษ รักสงบ รักธรรมชาติ เกื้อกูลต่อกัน ผิวขาว เชื่อถือ ยกย่องในบรรพบุรุษ ศรัทธาและนับถือพระพุทธศาสนา มีความเคารพและปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ตามกฎมังรายศาตร์

คนไตยวน มีภาษาพูดของตนเองเรียกว่า ฟู่อู้กำเมือง มีวรรณยุคเสียงสูง ต่ำ กลาง ซึ่งเป็นการบอกถึงอารมณ์ได้เป็นอย่างดี มีภาษาอักษรเขียนเรียกว่า ตั๋วเมือง

'''ในปีพ.ศ. 2454''' แดเนียล แม็คกิลวารี ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 – 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง “กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว” เรียกคนในล้านนาว่า “คนลาว” เรียกตั๋วเมือง (อักษรล้านนา) ว่าเป็น “ภาษาลาว” และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า “ลาว” ในงานเรื่อง “ชนชาติไท” และตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 – 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น “คนยวน” มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่า คนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสอง ก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือ ในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

ตามตำนานแล้ว ชาวไตยวนมีการอพยพหรือถูกกวาดต้อนไปในยุค เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมืองจำนวนไม่น้อยเลยทีเดียว เราลองมาศึกษากันดูนะครับ

ไทยวน หรือ ไทยล้านนา หรือ โยนก เป็นกลุ่มชนกลุ่มใหญ่ ที่อาศัยอยู่ในดินแดนล้านนามาเป็นเวลานาน มักเรียกตนเองว่า คนเมืองชาวไทยวนอาศัยอยู่ในเขต จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง น่าน และแพร่ รู้จักในนามไทยล้านนามีภาษาพูดใกล้เคียงกับ พวกไทลื้อ และไทเขินปัจจุบันชาวไทยวนได้รับอิทธิพลของไทยภาคกลางเป็นอย่างมาก

ตามตำนานสิงหนวัติกล่าวว่า สิงหนวัติกุมาร โอรสของท้าวเทวกาล ซึ่งปกครองบ้านเมืองอยู่ทางยูนนาน ได้นำผู้คนมาตั้งบ้านเรือนอยู่ลุ่มน้ำโขงตอนใต้ซึ่งก็คือ เชียงราย เชียงแสน ในปัจจุบัน และตั้งชื่อเมืองว่า โยนกนคร หรือ โยนกนาคนคร คนทั่วไปเรียกเมืองโยนกนี้ว่า โยนก หรือ ยูน หรือ ยวน ไทยวน หรือ คนยวน ในจังหวัดสระบุรีเป็นไทยวน กลุ่มที่ อพยพมาจากเมืองเชียงแสน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2347 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ซึ่งพระองค์ท่านโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงเทพหริรักษ์ และ พระยายมราช พร้อมด้วยกองทัพลาว ยกทัพไปตีเมืองเชียงแสน ซึ่งในขณะนั้น ตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า เมื่อทัพไทยสามารถตีเมืองเชียงแสนได้แล้ว จึงให้รื้อกำแพงเมือง รื้อบ้านเมือง และได้รวบรวมผู้คนชาวเชียงแสนโดยได้แบ่งเป็น 5 ส่วน ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่ที่เมืองเชียงใหม่ ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่ที่ลำปาง ส่วนหนึ่งอยู่ที่น่าน ส่วนหนึ่งอยู่ที่เวียงจันทน์ และอีกส่วนให้เดินทางมายังกรุงเทพ โดยให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ราชบุรี สระบุรี

ปู่เจ้าฟ้า หนึ่งในผู้นำคนยวนในสมัยนั้น ได้นำผู้คนมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านเจ้าฟ้า ปัจจุบันมีศาลเจ้าฟ้า ตั้งอยู่ในหมู่บ้านนี้ เมื่อถึงวันสงกรานต์ ชาวบ้านจะอันเชิญดวงวิญญาณของปู่เจ้าฟ้า มาเข้าร่างทรงให้ลูกหลานได้สรงน้ำ และปู่เจ้าฟ้า ก็จะพยากรณ์เหตุการณ์บ้านเมือง หนานต๊ะ ซึ่งเป็นน้องชายของปู่เจ้าฟ้า ได้นำไพร่พลไปตั้งบ้านเรือน อยู่ที่บ้านสิบต๊ะ (ปัจจุบันคือบ้านสวนดอกไม้) เล่ากันว่า หนานต๊ะเป็นผู้ที่มีวิชาอาคมขลังและเก่งในการรบ และเป็นผู้ที่มีส่วน ร่วม ในการตัดต้นตะเคียนที่บ้านสันปะแหน เพื่อส่งมาคัดเลือกให้เป็นเสาหลักเมือง ที่กรุงเทพ เมื่อไม่ได้รับการเลือก เสาต้นนี้ล่องทวนน้ำกลับไปยังที่เดิมและก็ส่งเสียงร้องร่ำไห้ อันเป็นที่มาของชื่ออำเภอเสาไห้ ปัจจุบันเสาต้นนี้อยู่ที่วัดสูง อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี แต่เดิมนั้นที่ทำการเมืองสระบุรีอยู่ที่บริเวณบึงโง้ง ใกล้วัดจันทรบุรี ในอำเภอเสาไห้ในปัจจุบัน ชาวไทยวนได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ำป่าสัก ตั้งแต่ที่ว่าการอำเภอเสาไห้ขึ้นไปทางตะวันออก ต่อมาจึงได้ขยับขยายทำเลที่ตั้งบ้านเรือนไกลจากแม่น้ำป่าสักออกไป ปัจจุบัน คนไทยวนตั้งถิ่นฐานอยู่แทบทุกอำเภอ ที่มีมากที่สุดคือ ที่อำเภอเสาไห้ อำเภอเมือง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอวังม่วง

= การแต่งกาย =
'''ผู้ชาย''' ในอดีตเมื่อออกไปทำงานนอกบ้านหรีอเดินป่าจะนุ่งกางเกงสะดอหรือสวมกางเกงชักเปาลักษณะคล้ายกางเกงจีนย้อมด้วยสีครามหรือสีขาว สวมเสื้อคอจีนสีครามหรือสีขาว หน้าอกประดับด้วยลูกกระดุมเงินหรือไม้ คาดเอวด้วยกระเป๋าถักสำหรับใส่สัมภาระต่างๆ

'''ผู้หญิง''' การแต่งกายของหญิงไทยวนจะมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง คือ “ผ้าซิ่น” ที่มีลักษณะเป็นผ้าริ้วลายขวาง ต่อตีนด้วยผ้าสีแดงหรือดำและต่อหัวซิ่นด้วยผ้าสีขาว สีแดง หรือดำ หรืออาจจะเป็นผ้าสีเดียวก็ได้ โดยการเย็บเข้าด้วยกันเรียกซิ่นชนิดนี้ว่า “ซิ่นต๋า” หรือ “ซิ่นต่อตีนต่อเอว”<blockquote>เอกลักษณผ้าซีนของชาว'''ไทยวน'''คือผ้าซิ่นตีนจกซี่งมีแพร่หลายใน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดน่าน จงหวัดแพร่ อำเภอสี่คิ้ว จังหวัดราชบุรี ซึ่งก็จะแตกต่างกัันไปตามแต่ละท้องถิ่น</blockquote>

= ภาษา =
ชาวไทยวน มีภาษาพูดภาษาเขียนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง อักษรของชาวไทยวน มีใช้มาเป็นเวลานานแล้ว เมื่อได้อพยพมาอยู่ที่สระบุรี ก็นำเอาอักษรเหล่านั้นมาใช้ด้วย ใช้เขียนลงในสมุดข่อยหรือจารบนใบลาน ชาวไทยวนเรียกอักษรนี้ว่า หนังสือยวน เรื่องที่บันทึกลงใบข่อยหรือสมุดไทย มักจะเป็นตำราหมอดู ตำราสมุนไพร เวทมนต์คาถาต่างๆ ส่วนเรื่องที่จารลง ใบลาน จะเป็นพระธรรมเทศนาเป็นส่วนใหญ่ ชาวไทยวนมักนิยมถวายคัมภีร์เทศน์ เพราะเชื่อว่าได้บุญมากส่วนใหญ่มักเป็นเรื่อง เวสสันดรชาดก ยอดพระไตรปิฎกคัมภีร์ยวนฉบับต่างๆได้รับต้นฉบับมาจากฝ่ายเหนือ เมื่อได้มาก็คัดลอกจารต่อๆกันมา ชาวไทยวนมีการร้องเพลง เรียกว่า จ๊อย เป็นการร้องด้วยสำนวนโวหาร อาจจะเป็นการจ๊อยคนเดียว หรือจ๊อย โต้ตอบกันก็ได้ การจ๊อยนี้ จะไม่มีเครื่องดนตรีประกอบ เนื้อหาในการจ๊อย อาจจะเกี่ยวกับนิทานชาดก คำสอน ประวัติตลอดจนการเกี้ยวพาราสี

= อาหาร =
คนไ'''ทยวน'''บริโภคข้าวเหนียวเป็นหลัก อาการคาวที่มีชื่อและเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ได้แก่ แกงโฮ๊ะ ลาบ ผัดหมี่ ไส้อั่ว แคบหมู น้ำพริกหนุ่ม น้ำเงี้ยว นอกจากนี้ยังมีขนมที่เป็นอาหารหวาน ได้แก่ ขนมเทียน(ขนมจ็อก ขนมเนียบ) ข้าวแต๋น ข้าวหลาม ข้าวต้มมัด ข้าวต้มหัวหงอก ที่นอกจากใช้เป็นอาหารแล้วใช้เพื่อประกอบพิธีกรรมและงานบุญต่างๆ ด้วย

ชาว'''ไทยวน'''มักใช้ ถั่วเน่าแคบหรือถั่วเน่าแผ่น ในการทำอาหารเช่น ผักกาดจอ น้ำพริกตาแดง น้ำเงี้ยว และยังมักใช่ถั่วเน่าในการมาทำแอ๊บเรียกว่า แอ๊บถั่วเน่า อีกด้วย


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:44, 29 กรกฎาคม 2561

แม่แบบ:ชาวไทยวน

ไทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) หรือ คนเมือง เป็นกลุ่มประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาไท-กะไดกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน

ตามตำนานสิงหนวัศิกล่าวว่า สิงหนวัศิกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ในมณฑลยูนนาน มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า “โยนกนคร” เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า “ยวน” ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง “โยนก” นั่นเอง[ต้องการอ้างอิง] จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อยๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปในอาณาจักรล้านนา ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า ได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ และปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี

คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฎหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น[1] เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับชาวฉาน โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนฉานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐฉานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ฉานพม่า" (Burmese Shan)[2] แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลายๆกลุ่ม

ในปี พ.ศ. 2454 แดเนียล แม็คกิลวารี ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 - 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว"[3] เรียกคนในล้านนาปนๆไปว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมือง(อักษรล้านนา)ว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" แต่น่าจะเป็นเพียงเพื่อบ่งชี้ว่าคนไทยทางเหนือเคยปกครองตัวเองแยกจากสยามมาก่อน ซึ่งในตอนหนึ่งของหนังสือ แม็คกิลวารี ขยายความว่า

"เราได้แล้วเห็นจังหวัดลาว (ล้านนา) ต่างๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสยามนั้น เคยเป็นมลรัฐอิสระมาจนกระทั่งพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์สิ้นพระชนม์ แต่แอกของสยามนั้นเบาและอารีมาก พวกล้านนาไม่ได้ถูกสยบในสงคราม แต่เข้ามาสู่ความเกี่ยวพันกับสยามโดยความเต็มใจของตัวเอง เพื่อจะหนีการปกครองของพม่า ด้วยเหตุที่ทั้งตำแหน่งที่ตั้งและความอ่อนแอของรัฐเหล่านี้ ทำให้มีความจำเป็นที่พวกเขาจะต้องมองไปที่อาณาจักรคู่แข่งขันในภูมิภาค เพื่อขอความคุ้มครองจากอีกรัฐหนึ่ง ... ธรรมชาติได้สร้างให้ประเทศลาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสยามมากกว่าใครอื่น การคมนาคมติดต่อกับทะเลจำต้องผ่านแม่น้ำเจ้าพระยา และลำน้ำสาขา ในขณะที่แนวทิวเขาสูงแยกดินแดนนี้ออกจากพม่า ทั้งในทางชาติพันธ์และภาษาก็เช่นกัน พวกนี้เป็นคนสยาม และไม่ใช่คนพม่า"

— แม็คกิลวารี, กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว, หน้า 191[4]

ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

ประวัติ

ประวัติศาสตร์

ตำนานโยนกนาคพันธุ์ ได้กล่าวว่า พ.ศ.639 พระเจ้าสิงหลวัติได้พาผู้คนจำนวนมากอพยพทางได้จากเมืองหนองแส น่านเจ้าต้าลีฟู ทางประเทศจีนตอนใต้ เพื่อแสวงหาที่ตั้งเมืองใหม่จนมาพบที่เมืองร้างเก่า ชื่อ สวรรโคมคำ (บริเวณที่ราบลุ่มเชียงแสนริมฝั่งแม่น้ำโขง) และได้ตั้งชื่อเมืองนี้ว่า โยนกนาคพันธุ์ ตั้งตนเป็นเจ้าเมืองลำดับที่ 1 ในราบวงศ์ สิงหลวัติ เรียกพลเมืองว่า ชาวโยนก

อีกที่มาหนึ่ง

ตามตำนานสิงหนวัศิกล่าวว่า สิงหนวัศิกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ในแคว้นยูนาน มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า “โยนกนคร” เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า “ยวน” ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง “โยนก” นั่นเอง

จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อยๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปในล้านนาไทย ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า ได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ และปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี

พ.ศ. 2347 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดฯ ให้ทัพหลวงไปตีพม่าออกจากเชียงแสน พม่าแพ้ ท่านให้ทำลายเมือง และรวบรวมผู้คนชาวเมืองเชียงแสนได้ 23,000 คน แบ่งคนเหล่านี้ออกเป็น 5 ส่วน ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่เชียงใหม่ ส่วนหนึ่งไปอยู่ลำปาง ส่วนหนึ่งไปอยู่น่าน ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่เวียงจันทน์ ส่วนหนึ่งนำมาใต้ โดยให้คนยวนกลุ่มหนึ่ง ไปอยู่ที่สระบุรีอีกกลุ่มหนึ่งให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ราชบุรี

ประเพณีและวัฒนธรรม

ไตยวน มีนิสัยสันโดษ รักสงบ รักธรรมชาติ เกื้อกูลต่อกัน ผิวขาว เชื่อถือ ยกย่องในบรรพบุรุษ ศรัทธาและนับถือพระพุทธศาสนา มีความเคารพและปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ตามกฎมังรายศาตร์

คนไตยวน มีภาษาพูดของตนเองเรียกว่า ฟู่อู้กำเมือง มีวรรณยุคเสียงสูง ต่ำ กลาง ซึ่งเป็นการบอกถึงอารมณ์ได้เป็นอย่างดี มีภาษาอักษรเขียนเรียกว่า ตั๋วเมือง

ในปีพ.ศ. 2454 แดเนียล แม็คกิลวารี ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 – 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง “กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว” เรียกคนในล้านนาว่า “คนลาว” เรียกตั๋วเมือง (อักษรล้านนา) ว่าเป็น “ภาษาลาว” และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า “ลาว” ในงานเรื่อง “ชนชาติไท” และตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 – 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น “คนยวน” มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่า คนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสอง ก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือ ในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

ตามตำนานแล้ว ชาวไตยวนมีการอพยพหรือถูกกวาดต้อนไปในยุค เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมืองจำนวนไม่น้อยเลยทีเดียว เราลองมาศึกษากันดูนะครับ

ไทยวน หรือ ไทยล้านนา หรือ โยนก เป็นกลุ่มชนกลุ่มใหญ่ ที่อาศัยอยู่ในดินแดนล้านนามาเป็นเวลานาน มักเรียกตนเองว่า คนเมืองชาวไทยวนอาศัยอยู่ในเขต จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง น่าน และแพร่ รู้จักในนามไทยล้านนามีภาษาพูดใกล้เคียงกับ พวกไทลื้อ และไทเขินปัจจุบันชาวไทยวนได้รับอิทธิพลของไทยภาคกลางเป็นอย่างมาก

ตามตำนานสิงหนวัติกล่าวว่า สิงหนวัติกุมาร โอรสของท้าวเทวกาล ซึ่งปกครองบ้านเมืองอยู่ทางยูนนาน ได้นำผู้คนมาตั้งบ้านเรือนอยู่ลุ่มน้ำโขงตอนใต้ซึ่งก็คือ เชียงราย เชียงแสน ในปัจจุบัน และตั้งชื่อเมืองว่า โยนกนคร หรือ โยนกนาคนคร คนทั่วไปเรียกเมืองโยนกนี้ว่า โยนก หรือ ยูน หรือ ยวน ไทยวน หรือ คนยวน ในจังหวัดสระบุรีเป็นไทยวน กลุ่มที่ อพยพมาจากเมืองเชียงแสน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2347 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ซึ่งพระองค์ท่านโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงเทพหริรักษ์ และ พระยายมราช พร้อมด้วยกองทัพลาว ยกทัพไปตีเมืองเชียงแสน ซึ่งในขณะนั้น ตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า เมื่อทัพไทยสามารถตีเมืองเชียงแสนได้แล้ว จึงให้รื้อกำแพงเมือง รื้อบ้านเมือง และได้รวบรวมผู้คนชาวเชียงแสนโดยได้แบ่งเป็น 5 ส่วน ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่ที่เมืองเชียงใหม่ ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่ที่ลำปาง ส่วนหนึ่งอยู่ที่น่าน ส่วนหนึ่งอยู่ที่เวียงจันทน์ และอีกส่วนให้เดินทางมายังกรุงเทพ โดยให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ราชบุรี สระบุรี

ปู่เจ้าฟ้า หนึ่งในผู้นำคนยวนในสมัยนั้น ได้นำผู้คนมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านเจ้าฟ้า ปัจจุบันมีศาลเจ้าฟ้า ตั้งอยู่ในหมู่บ้านนี้ เมื่อถึงวันสงกรานต์ ชาวบ้านจะอันเชิญดวงวิญญาณของปู่เจ้าฟ้า มาเข้าร่างทรงให้ลูกหลานได้สรงน้ำ และปู่เจ้าฟ้า ก็จะพยากรณ์เหตุการณ์บ้านเมือง หนานต๊ะ ซึ่งเป็นน้องชายของปู่เจ้าฟ้า ได้นำไพร่พลไปตั้งบ้านเรือน อยู่ที่บ้านสิบต๊ะ (ปัจจุบันคือบ้านสวนดอกไม้) เล่ากันว่า หนานต๊ะเป็นผู้ที่มีวิชาอาคมขลังและเก่งในการรบ และเป็นผู้ที่มีส่วน ร่วม ในการตัดต้นตะเคียนที่บ้านสันปะแหน เพื่อส่งมาคัดเลือกให้เป็นเสาหลักเมือง ที่กรุงเทพ เมื่อไม่ได้รับการเลือก เสาต้นนี้ล่องทวนน้ำกลับไปยังที่เดิมและก็ส่งเสียงร้องร่ำไห้ อันเป็นที่มาของชื่ออำเภอเสาไห้ ปัจจุบันเสาต้นนี้อยู่ที่วัดสูง อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี แต่เดิมนั้นที่ทำการเมืองสระบุรีอยู่ที่บริเวณบึงโง้ง ใกล้วัดจันทรบุรี ในอำเภอเสาไห้ในปัจจุบัน ชาวไทยวนได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ำป่าสัก ตั้งแต่ที่ว่าการอำเภอเสาไห้ขึ้นไปทางตะวันออก ต่อมาจึงได้ขยับขยายทำเลที่ตั้งบ้านเรือนไกลจากแม่น้ำป่าสักออกไป ปัจจุบัน คนไทยวนตั้งถิ่นฐานอยู่แทบทุกอำเภอ ที่มีมากที่สุดคือ ที่อำเภอเสาไห้ อำเภอเมือง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอวังม่วง

การแต่งกาย

ผู้ชาย ในอดีตเมื่อออกไปทำงานนอกบ้านหรีอเดินป่าจะนุ่งกางเกงสะดอหรือสวมกางเกงชักเปาลักษณะคล้ายกางเกงจีนย้อมด้วยสีครามหรือสีขาว สวมเสื้อคอจีนสีครามหรือสีขาว หน้าอกประดับด้วยลูกกระดุมเงินหรือไม้ คาดเอวด้วยกระเป๋าถักสำหรับใส่สัมภาระต่างๆ

ผู้หญิง การแต่งกายของหญิงไทยวนจะมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง คือ “ผ้าซิ่น” ที่มีลักษณะเป็นผ้าริ้วลายขวาง ต่อตีนด้วยผ้าสีแดงหรือดำและต่อหัวซิ่นด้วยผ้าสีขาว สีแดง หรือดำ หรืออาจจะเป็นผ้าสีเดียวก็ได้ โดยการเย็บเข้าด้วยกันเรียกซิ่นชนิดนี้ว่า “ซิ่นต๋า” หรือ “ซิ่นต่อตีนต่อเอว”

เอกลักษณผ้าซีนของชาวไทยวนคือผ้าซิ่นตีนจกซี่งมีแพร่หลายใน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดน่าน จงหวัดแพร่ อำเภอสี่คิ้ว จังหวัดราชบุรี ซึ่งก็จะแตกต่างกัันไปตามแต่ละท้องถิ่น

ภาษา

ชาวไทยวน มีภาษาพูดภาษาเขียนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง อักษรของชาวไทยวน มีใช้มาเป็นเวลานานแล้ว เมื่อได้อพยพมาอยู่ที่สระบุรี ก็นำเอาอักษรเหล่านั้นมาใช้ด้วย ใช้เขียนลงในสมุดข่อยหรือจารบนใบลาน ชาวไทยวนเรียกอักษรนี้ว่า หนังสือยวน เรื่องที่บันทึกลงใบข่อยหรือสมุดไทย มักจะเป็นตำราหมอดู ตำราสมุนไพร เวทมนต์คาถาต่างๆ ส่วนเรื่องที่จารลง ใบลาน จะเป็นพระธรรมเทศนาเป็นส่วนใหญ่ ชาวไทยวนมักนิยมถวายคัมภีร์เทศน์ เพราะเชื่อว่าได้บุญมากส่วนใหญ่มักเป็นเรื่อง เวสสันดรชาดก ยอดพระไตรปิฎกคัมภีร์ยวนฉบับต่างๆได้รับต้นฉบับมาจากฝ่ายเหนือ เมื่อได้มาก็คัดลอกจารต่อๆกันมา ชาวไทยวนมีการร้องเพลง เรียกว่า จ๊อย เป็นการร้องด้วยสำนวนโวหาร อาจจะเป็นการจ๊อยคนเดียว หรือจ๊อย โต้ตอบกันก็ได้ การจ๊อยนี้ จะไม่มีเครื่องดนตรีประกอบ เนื้อหาในการจ๊อย อาจจะเกี่ยวกับนิทานชาดก คำสอน ประวัติตลอดจนการเกี้ยวพาราสี

อาหาร

คนไทยวนบริโภคข้าวเหนียวเป็นหลัก อาการคาวที่มีชื่อและเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ได้แก่ แกงโฮ๊ะ ลาบ ผัดหมี่ ไส้อั่ว แคบหมู น้ำพริกหนุ่ม น้ำเงี้ยว นอกจากนี้ยังมีขนมที่เป็นอาหารหวาน ได้แก่ ขนมเทียน(ขนมจ็อก ขนมเนียบ) ข้าวแต๋น ข้าวหลาม ข้าวต้มมัด ข้าวต้มหัวหงอก ที่นอกจากใช้เป็นอาหารแล้วใช้เพื่อประกอบพิธีกรรมและงานบุญต่างๆ ด้วย

ชาวไทยวนมักใช้ ถั่วเน่าแคบหรือถั่วเน่าแผ่น ในการทำอาหารเช่น ผักกาดจอ น้ำพริกตาแดง น้ำเงี้ยว และยังมักใช่ถั่วเน่าในการมาทำแอ๊บเรียกว่า แอ๊บถั่วเน่า อีกด้วย

อ้างอิง

  1. Frederic Pain (2008), "An introduction to Thai ethnonymy: examples from Shan and Northern Thai", The Journal of the American Oriental Society
  2. Andrew Turton (2004), "Violent Capture of People for Exchange on Karen-Tai borders in the 1830s", Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia, London: Frank Cass, p. 73
  3. McGilvary, Daniel (1912). A HALF CENTURY AMONG THE SIAMESE AND THE LAO. London, Fleming H. Revell Comapny. p. 435. {{cite book}}: line feed character ใน |title= ที่ตำแหน่ง 21 (help)
  4. McGilvary 1912, p. 191.
  • สุรชัย จงจิตงาม. ท่องเที่ยว-เรียนรู้ ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง. [ม.ป.ท.] : [ม.ป.พ.], [ม.ป.ป.]. หน้า 16.