ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.97.74.187 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Anuwat Singbua
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ทศพล ทรวงชัย (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 429: บรรทัด 429:


=== [[วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก|เนชันส์ลีก]] ===
=== [[วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก|เนชันส์ลีก]] ===
* {{flagicon|CHN}} [[วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2018|2018]] :
* {{flagicon|CHN}} [[วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2018|2018]] : อันดับ 10


=== [[เอเชียนเกมส์]] ===
=== [[เอเชียนเกมส์]] ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:26, 1 กรกฎาคม 2561

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น
สมาคมสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย
หัวหน้าผู้ฝึกสอนคุมิ นากาดะ[1]
อันดับเอฟไอวีบี? (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน11 สมัย
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน13 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1960)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (ค.ศ. 1962, 1967, 1974)
www.jva.or.jp (ญี่ปุ่น)
สมาชิกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: バレーボール全日本女子; อังกฤษ: Japan women's national volleyball team หรือ All-Japan women's volleyball team) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอันดับ 5 ของโลก โดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ[2] และมีหัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือคุมิ นากาดะ[1]

หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของทีมคือชนะการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ที่กรุงโตเกียว โดยทีมชาติญี่ปุ่นเป็นฝ่ายชนะทีมชาติสหภาพโซเวียตและได้รับรางวัลเหรียญทอง[3]

ทีมชาติญี่ปุ่นได้รับเลือกให้เข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 จากการเป็นฝ่ายชนะรอบคัดเลือกทีมโอลิมปิกหญิง ตั้งแต่วันที่ 8 ถึง 16 พฤษภาคม ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ ทีมดังกล่าวได้อันดับห้าจากการแข่งขัน

และในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2013 ทีมชาติญี่ปุ่นได้พบกับทีมชาติไทย ในรอบชิงชนะเลิศ[4] โดยเป็นฝ่ายแพ้ให้กับทีมชาติไทยที่ 3-0 เซต

ผลงานในกีฬาโอลิมปิก 2012

ทีมวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่นผ่านการคัดเลือกในฐานะที่สุดของเอเชีย ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเอ สายเดียวกับรัสเซียอิตาลี สาธารณรัฐโดมินิกัน สหราชอาณาจักร และแอลจีเรีย และก็ทำผลงานได้ดี เข้ารอบเป็นที่สามของกลุ่มนี้ และในรอบก่อนรองชนะเลิศ ญี่ปุ่น พบกับทีมชาติจีน และเอาชนะไปได้อย่างสนุก 3-2 เซต สร้างปรากฏการณ์ชนะจีนเป็นครั้งแรกในรอบ 11 ปีในการแข่งขันภายใต้สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และในแมตช์นี้ ซะโอะริ คิมุระ และยุกิโกะ เอะบะตะ ทำคะแนนสูงสุด 33 คะแนนภายในแมตช์นี้แมตช์เดียว หลังจากนั้นก็มาแพ้บราซิล อันดับ 1 ของโลก 0-3 เซต และสุดท้ายในการแข่งขันชิงเหรียญทองแดงกับเกาหลีใต้ ที่ไปชนะอิตาลี อันดับ 4 ของโลกในปัจจุบัน 3-1 เซต ญี่ปุ่นก็สามารถชนะเกาหลีใต้ไปได้อย่างขาดลอย 3-0 เซต คว้าเหรียญทองแดงมาให้กับญี่ปุ่นได้สำเร็จในมหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2014-2015 ตำแหน่ง
1 มิยุ นะงะโอะกะ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 179 315 299 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ ตัวตบหัวเสา
2 โคะโตะกิ ซะยะซุ 18 กันยายน ค.ศ. 1985 159 270 255 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ ตัวรับอิสระ
3 อะริซะ ทะกะดะ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987 175 301 299 ญี่ปุ่น โทเรย์แอร์โรส์ ตัวตบหัวเสา
4 ชิซุรุ โคะโต 8 ตุลาคม ค.ศ. 1982 171 296 255 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ ตัวเซต
5 โนะโซะมิ สึชิดะ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1986 167 280 275 ญี่ปุ่น อะเงะโอะเมดิกส์ ตัวเซต
6 ไม ยะมะงุชิ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 176 317 302 ญี่ปุ่น โอะกะยะมะซีกัลส์ บอลเร็ว
7 ซะรินะ โคะงะ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1996 180 310 298 ญี่ปุ่น เอ็นอีซีเรดร็อกเก็ต ตัวตบหัวเสา
8 ฮะรุโยะ ชิมะมุระ 4 มีนาคม ค.ศ. 1992 182 315 302 ญี่ปุ่น เอ็นอีซีเรดร็อกเก็ต บอลเร็ว
9 ซะยะกะ อิวะซะกิ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 158 268 250 ญี่ปุ่น เอ็นอีซีเรดร็อกเก็ต ตัวรับอิสระ
10 เอะริกะ อะระกิ 3 สิงหาคม ค.ศ. 1984 186 310 300 ญี่ปุ่น อะเงะโอะเมดิกส์ บอลเร็ว
11 ยุกิ อิชิอิ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 180 308 298 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ ตัวตบหัวเสา
12 มิโอะ ซะโต 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993 153 250 240 ญี่ปุ่น โตะโยะตะออโตบอดีควีนเซซ ตัวรับอิสระ
13 ยุกิโกะ เอะบะตะ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 176 307 299 ญี่ปุ่น ฮิตะชิรีวาเล ตัวตบหัวเสา
14 มะมิ อุชิเซะโตะ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1991 170 300 289 ญี่ปุ่น ฮิตะชิรีวาเล ตัวตบหัวเสา
15 ซะโอะริ ซะโกะดะ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1987 175 305 290 ญี่ปุ่น โทเรย์แอร์โรส์ ตัวตบหัวเสา
16 คะนะ โอโนะ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1992 180 319 310 ญี่ปุ่น เอ็นอีซีเรดร็อกเก็ตส์ บอลเร็ว
17 ไอริ มิยะเบะ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1998 181 309 290 ญี่ปุ่น โรงเรียนมัธยมต้นคินรันไก ตัวตบหัวเสา
18 ฮะรุกะ มิยะชิตะ 1 กันยายน ค.ศ. 1994 177 298 272 ญี่ปุ่น โอะกะยะมะซีกัลส์ ตัวเซตหลัก
19 นะสึมิ ฟุจิตะ 5 สิงหาคม ค.ศ. 1991 167 282 270 ญี่ปุ่น โตะโยะตะออโตบอดีควีนเซซ ตัวเซต
20 ริโฮะ โอตะเกะ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1993 182 315 304 ญี่ปุ่น เด็นโซ่แอรีบีส์ บอลเร็ว
21 ยุริเอะ นะเบะยะ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1993 176 302 285 ญี่ปุ่น เด็นโซ่แอรีบีส์ ตัวตบหัวเสา
22 มิซุโฮะ อิชิดะ 22 มกราคม ค.ศ. 1988 174 301 286 ญี่ปุ่น เด็นโซ่แอรีบีส์ ตัวตบหัวเสา
23 ริซะ ชิระงะกิ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 179 305 290 ญี่ปุ่น เอ็นอีซีเรดร็อกเก็ตส์ ตัวตบหัวเสา
24 ซะยะกะ สึสึอิ 29 กันยายน ค.ศ. 1992 158 255 245 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ ตัวรับอิสระ

ผลงานเหรียญทองระดับโลก

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น
เหรียญรางวัล
กีฬาโอลิมปิก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1964 โตเกียว ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1968 เม็กซิโกซิตี ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1972 มิวนิก ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1976 มอนทรีออล ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1984 ลอสแอนเจลิส ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2012 ลอนดอน ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1960 บราซิล ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1962 สหภาพโซเวียต ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1967 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1970 บัลแกเรีย ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1974 เม็กซิโก ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1978 สหภาพโซเวียต ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2010 ญี่ปุ่น ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1973 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1977 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1981 ญี่ปุ่น ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปื้ยนคัพ
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2001 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2013 ญี่ปุ่น ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2014 ญี่ปุ่น ทีม
เอเชียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1962 จาการ์ตา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1966 กรุงเทพ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1970 กรุงเทพ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1974 เตหะราน ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1978 กรุงเทพ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1982 นิวเดลี ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1986 โซล ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1990 ปักกิ่ง ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1994 ฮิโระชิมะ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1998 กรุงเทพ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2002 ปูซาน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2006 โดฮา ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1975 เมลเบิร์น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1979 ฮ่องกง ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1983 ฟุกุโอะกะ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1987 เซี่ยงไฮ้ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1989 ฮ่องกง ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1991 กรุงเทพ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1993 เซี่ยงไฮ้ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1995 เชียงใหม่ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1997 มะนิลา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1999 ฮ่องกง ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2003 โฮจิมินห์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2005 ไท้ชาง ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2007 สุพรรณบุรี ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2009 ฮานอย ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2011 ไทเป ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2013 นครราชสีมา ทีม

..

ปี การแข่งขัน เจ้าภาพ อันดับที่ 2 อันดับที่ 3
1962 วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1962 สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต โปแลนด์ โปแลนด์
1964 โอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต โปแลนด์ โปแลนด์
1967 วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1967 ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต เกาหลีใต้ เกาหลีใต้
1974 วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1974 เม็กซิโก เม็กซิโก สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต เกาหลีใต้ เกาหลีใต้
1976 โอลิมปิกฤดูร้อน 1976 แคนาดา แคนาดา สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต เกาหลีใต้ เกาหลีใต้
1977 วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1977 ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น คิวบา คิวบา เกาหลีใต้ เกาหลีใต้

รางวัล

โอลิมปิกฤดูร้อน

  • ญี่ปุ่น 1964 เหรียญทอง
  • เม็กซิโก 1968 เหรียญเงิน
  • เยอรมนี 1972 เหรียญเงิน
  • แคนาดา 1976 เหรียญทอง
  • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1984 เหรียญทองแดง
  • เกาหลีใต้ 1988 – อันดับที่ 4
  • สเปน 1992 – อันดับที่ 5
  • สหรัฐ 1996 – อันดับที่ 9
  • ออสเตรเลีย 2000 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • กรีซ 2004 – อันดับที่ 5
  • จีน 2008 – อันดับที่ 5
  • สหราชอาณาจักร 2012 เหรียญทองแดง
  • บราซิล 2016 – อันดับที่ 5

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

  • ฝรั่งเศส 1956 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1960 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 1962 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 1967 : เหรียญทอง
  • บัลแกเรีย 1970 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 1974 : เหรียญทอง
  • สหภาพโซเวียต 1978 : เหรียญเงิน
  • เปรู 1982 : อันดับที่ 4
  • เชโกสโลวาเกีย 1986 : อันดับที่ 7
  • จีน 1990 : อันดับที่ 8
  • บราซิล 1994 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 8
  • เยอรมนี 2002 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2010 : เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 2014 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2018 :

เวิลด์คัพ

  • อุรุกวัย 1973 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1977 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 1981 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1985 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1989 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1991 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1995 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2003 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2007 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2011 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2015 : อำดับที่ 5

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ

  • ญี่ปุ่น 1993 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2001 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2013 : เหรียญทองแดง

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

  • ฮ่องกง 1993 : อันดับที่ 6
  • จีน 1994 : อันดับที่ 4
  • จีน 1995 : อันดับที่ 7
  • จีน 1996 : อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 4
  • ฮ่องกง 1998 : อันดับที่ 7
  • จีน 1999 : อันดับที่ 7
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : อันดับที่ 8
  • มาเก๊า 2001 : อันดับที่ 6
  • ฮ่องกง 2002 : อันดับที่ 5
  • อิตาลี 2003 : อันดับที่ 9
  • อิตาลี 2004 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 5
  • อิตาลี 2006 : อันดับที่ 6
  • จีน 2007 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2008 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 6
  • จีน 2010 : อันดับที่ 6
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 5
  • จีน 2012 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2014 : เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 2015 : อันดับที่ 6
  • ไทย 2016 : อันดับที่ 9
  • จีน 2017 : อันดับที่ 7

เนชันส์ลีก

  • จีน 2018 : อันดับ 10

เอเชียนเกมส์

  • อินโดนีเซีย 1962 : เหรียญทอง
  • ไทย 1966 : เหรียญทอง
  • ไทย 1970 : เหรียญทอง
  • อิหร่าน 1974 : เหรียญทอง
  • ไทย 1978 : เหรียญทอง
  • อินเดีย 1982 : เหรียญเงิน
  • เกาหลีใต้ 1986 : เหรียญเงิน
  • จีน 1990 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1994 : เหรียญทองแดง
  • ไทย 1998 : เหรียญทองแดง
  • เกาหลีใต้ 2002 : เหรียญทองแดง
  • ประเทศกาตาร์ 2006 : เหรียญเงิน
  • จีน 2010 : อันดับที่ 6
  • เกาหลีใต้ 2014 : อันดับที่ 4

วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย

  • ออสเตรเลีย 1975 : เหรียญทอง
  • ฮ่องกง 1979 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1983 : เหรียญทอง
  • จีน 1987 : เหรียญเงิน
  • ฮ่องกง 1989 : เหรียญทองแดง
  • ไทย 1991 : เหรียญเงิน
  • จีน 1993 : เหรียญเงิน
  • ไทย 1995 : เหรียญทองแดง
  • ฟิลิปปินส์ 1997 : เหรียญทองแดง
  • ฮ่องกง 1999 : เหรียญทองแดง
  • ไทย 2001 : อันดับที่ 4
  • เวียดนาม 2003 : เหรียญเงิน
  • จีน 2005 : เหรียญเงิน
  • ไทย 2007 : เหรียญทอง
  • เวียดนาม 2009 : เหรียญทองแดง
  • จีนไทเป 2011 : เหรียญเงิน
  • ไทย 2013 : เหรียญเงิน
  • จีน 2015 : อันดับที่ 6
  • ฟิลิปปินส์ 2017 : เหรียญทอง

เอเชียนคัพ

  • ไทย 2008 : อันดับที่ 4
  • จีน 2010 : อันดับที่ 4
  • คาซัคสถาน 2012 : อันดับที่ 5
  • จีน 2014 : อันดับที่ 4
  • เวียดนาม 2016 : อันดับที่ 4

นักวอลเลย์บอลในอดีต

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 วอลเลย์บอลไทย: ญี่ปุ่น หวังกลับมาทวงความยิ่งใหญ่
  2. FIVB World Rankings, Senior, Women (updated: 13th August 2012)
  3. Volleyball at the 1964 Tokyo Summer Games: Women's Volleyball
  4. สะใจกองเชียร์! สาวไทยพลิกโค่นจีน 3-2 ลิ่วชิงวอลเลย์อช.
  5. "Team Roster – Japan". Japan Volleyball Association. สืบค้นเมื่อ 12 June 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น