ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวดึงส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Mtmerucosmology01.jpg|thumb|300px|จิตรกรรมเรื่อง[[ไตรภูมิ]] แสดงที่ตั้งของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์บนยอด[[เขาพระสุเมรุ]]]]
[[ไฟล์:Mtmerucosmology01.jpg|thumb|300px|จิตรกรรมเรื่อง[[ไตรภูมิ]] แสดงที่ตั้งของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์บนยอด[[เขาพระสุเมรุ]]]]
[[ไฟล์:Thagyamin Nat.jpg|thumb|150px|[[ท้าวสักกะ]] เทวาธิบดีแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ (ศิลปะพม่า)]]
[[ไฟล์:Thagyamin Nat.jpg|thumb|150px|[[ท้าวสักกะ]] เทวาธิบดีแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ (ศิลปะพม่า)]]
'''ดาวดึงส์''' ({{lang-pi|''ตาวตึส''}}) หรือ '''ตรัยตรึงศ์''', '''ไตรตรึงษ์'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒] (สืบค้นออนไลน์). ไตรตรึงษ์ เป็นคำโบราณที่สะกดไม่ตรงตามรูปศัพท์ (ศ↔ษ) และเป็นชื่อของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร โดยนัยทั่วไปควรสะกดว่า ตรัยตรึงศ์ หรือใช้คำว่าดาวดึงส์แทน</ref> ({{lang-sa|त्रायस्त्रिंश}} ''ตฺรายสฺตฺริํศ'') เป็นชื่อของสวรรค์ (ภูมิของเทวดาทั้งหลาย) อันสำคัญยิ่งใน[[จักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ]] คำว่า ''ตฺรายสฺตฺริํศ'' เป็นรูป[[คำคุณศัพท์]]ของคำว่า ''ตฺรยาสฺตฺริํศต'' (จำนวน 33) อาจแปลความหมายได้ว่า "ที่อยู่ของเทพ 33 องค์"
'''ดาวดึงส์''' ({{lang-pi|''ตาวตึส''}}) หรือ '''ตรัยตรึงศ์''', '''ไตรตรึงษ์'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒] (สืบค้นออนไลน์). ไตรตรึงษ์ เป็นคำโบราณที่สะกดไม่ตรงตามรูปศัพท์ (ศ↔ษ) และเป็นชื่อของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร โดยนัยทั่วไปควรสะกดว่า ตรัยตรึงศ์ หรือใช้คำว่าดาวดึงส์แทน</ref> ({{lang-sa|त्रायस्त्रिंश}} ''ตฺรายสฺตฺริศ'') เป็นชื่อของสวรรค์ (ภูมิของเทวดาทั้งหลาย) อันสำคัญยิ่งใน[[จักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ]] คำว่า ''ตฺรายสฺตฺริศ'' เป็นรูป[[คำคุณศัพท์]]ของคำว่า ''ตฺรยาสฺตฺริศต'' (จำนวน 33) อาจแปลความหมายได้ว่า "ที่อยู่ของเทพ 33 องค์"


สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นสวรรค์ชั้นที่ 2 จากสวรรค์[[ฉกามาพจร]]ทั้ง 6 ชั้น(จัดอยู่ใน[[กามภูมิ]]) โดยอยู่สูงขึ้นไปถัดจากสวรรค์ชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]ขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนยอด[[เขาพระสุเมรุ]]อันสูง 80,000 โยชน์ ซึ่งเป็นจุดสูงที่สุดที่ยังเชื่อมอยู่กับมนุสสภูมิหรือโลกมนุษย์ (อาจเทียบได้กับ[[ยอดเขาโอลิมปัส]]ใน[[ตำนานเทพปกรณัมกรีก]]) อาณาบริเวณโดยรอบ 80,000 ตารางโยชน์ มี[[ท้าวสักกะ]]หรือ[[พระอินทร์]]เป็นผู้ปกครอง
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นสวรรค์ชั้นที่ 2 จากสวรรค์[[ฉกามาพจร]]ทั้ง 6 ชั้น(จัดอยู่ใน[[กามภูมิ]]) โดยอยู่สูงขึ้นไปถัดจากสวรรค์ชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]ขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนยอด[[เขาพระสุเมรุ]]อันสูง 80,000 โยชน์ ซึ่งเป็นจุดสูงที่สุดที่ยังเชื่อมอยู่กับมนุสสภูมิหรือโลกมนุษย์ (อาจเทียบได้กับ[[ยอดเขาโอลิมปัส]]ใน[[ตำนานเทพปกรณัมกรีก]]) อาณาบริเวณโดยรอบ 80,000 ตารางโยชน์ มี[[ท้าวสักกะ]]หรือ[[พระอินทร์]]เป็นผู้ปกครอง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:20, 1 กรกฎาคม 2561

จิตรกรรมเรื่องไตรภูมิ แสดงที่ตั้งของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์บนยอดเขาพระสุเมรุ
ท้าวสักกะ เทวาธิบดีแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ (ศิลปะพม่า)

ดาวดึงส์ ([ตาวตึส] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) หรือ ตรัยตรึงศ์, ไตรตรึงษ์[1] (สันสกฤต: त्रायस्त्रिंश ตฺรายสฺตฺริศ) เป็นชื่อของสวรรค์ (ภูมิของเทวดาทั้งหลาย) อันสำคัญยิ่งในจักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ คำว่า ตฺรายสฺตฺริศ เป็นรูปคำคุณศัพท์ของคำว่า ตฺรยาสฺตฺริศต (จำนวน 33) อาจแปลความหมายได้ว่า "ที่อยู่ของเทพ 33 องค์"

สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นสวรรค์ชั้นที่ 2 จากสวรรค์ฉกามาพจรทั้ง 6 ชั้น(จัดอยู่ในกามภูมิ) โดยอยู่สูงขึ้นไปถัดจากสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนยอดเขาพระสุเมรุอันสูง 80,000 โยชน์ ซึ่งเป็นจุดสูงที่สุดที่ยังเชื่อมอยู่กับมนุสสภูมิหรือโลกมนุษย์ (อาจเทียบได้กับยอดเขาโอลิมปัสในตำนานเทพปกรณัมกรีก) อาณาบริเวณโดยรอบ 80,000 ตารางโยชน์ มีท้าวสักกะหรือพระอินทร์เป็นผู้ปกครอง

เมืองบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นเมืองใหญ่ที่สร้างอย่างงดงามด้วยทองและแก้ว 7 ประการ มีเสียงดนตรีบรรเลงอยู่อย่างไพเราะ กลางเมืองดาวดึงส์มีปราสาทใหญ่ที่งดงามเป็นที่ประทับของพระอินทร์

บนสวรรค์ชั้นนี้มีอุทยานที่งดงามมากอยู่ 4 แห่ง คือ

  1. นันทวนุทยาน หรือ สวนนันทวัน (สวนที่รื่นรมย์) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ในสวนด้านที่ใกล้กับตัวเมืองมีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า สระนันทาโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาโบกขรณี มีแผ่นศิลา 2 แผ่น แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า นันทาปริถิปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาปริถิปาสาณ เป็นศิลาที่มีรัศมีเรืองรอง เมื่อจับดูจะรู้สึกว่านิ่มเหมือนขนสัตว์
  2. ผรุสกวัน หรือ ปารุสกวัน (ป่าลิ้นจี่) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันใต้ของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ในอุทยานนี้ด้านใกล้ตัวเมือง มีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราโบกขรณี มีก้อนแก้วใส 2 ก้อน ก้อนหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราปริถิปาสาณ อีกก้อนหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราปริถิปาสาณ เป็นแก้วเกลี้ยงและอ่อนนุ่ม
  3. จิตรลดาวัน (ป่ามีเถาวัลย์หลากสีสวยงาม) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สระในอุทยานนี้มีชื่อว่า จิตรโบกขรณี และจุลจิตรโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วในอุทยานนี้แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จิตรปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลจิตรปาสาณ
  4. สักกวัน หรือ มิสกวัน (ป่าไม้ระคน) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันเหนือของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สระใหญ่ในอุทยานนี้มีชื่อว่า ธรรมาโบกขรณี และสุธรรมาโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วมีชื่อว่า ธรรมาปริถิปาสาณ และสุธรรมาปิริถิปาสาณ

อ้างอิง

  1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (สืบค้นออนไลน์). ไตรตรึงษ์ เป็นคำโบราณที่สะกดไม่ตรงตามรูปศัพท์ (ศ↔ษ) และเป็นชื่อของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร โดยนัยทั่วไปควรสะกดว่า ตรัยตรึงศ์ หรือใช้คำว่าดาวดึงส์แทน


ธงพระธรรมจักร
ธงพระพุทธศาสนาสากล
ดาวดึงส์ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิพระพุทธศาสนา และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมเรื่องทุกอย่างเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ถ้าต้องการมีส่วนร่วมโครงการ สามารถเข้าร่วมได้ที่หน้าโครงการ
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ