ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7683742 สร้างโดย 2001:44C8:44C2:43DD:BD15:33E7:D718:B9B3 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปคือ [[ยุโรป]], [[เอเชีย]] และ [[แอฟริกา]]
บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปคือ [[ยุโรป]], [[เอเชีย]] และ [[แอฟริกา]]


ยุโรปอยู่ทางตอนเหนือที่รวมทั้งแบบคาบสมุทรใหญ่สามคาบที่รวมทั้ง[[คาบสมุทรไอบีเรีย]], [[คาบสมุทรอิตาลี]] และ [[คาบสมุทรบอลข่าน]] โดยมีแนวเทือกเขาเป็นที่กั้นเขตแดนทางตอนเหนือที่รวมทั้ง[[เทือกเขาพิเรนีส]]ที่แยก[[สเปน]]จาก[[ฝรั่งเศส]], [[เทือกเขาแอลป์]]ที่แยก[[อิตาลี]]จาก[[ยุโรปกลาง]], [[เทือกเขาไดนาริคแอลป์]]ตามแนวตะวันออกของ[[ทะเลเอเดรียติค]] และ[[เทือกเขาบอลข่าน]] กับ [[เทือกเขาราดาพี]] (Rhodope Mountains) <!--ออกเสียงตาม Merriam-Webster-->ของคาบสมุทรบอลข่านที่แยกทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจากบริเวณแบบ[[ภาคพื้นทวีป]]ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันตก
ยุโรปอยู่ทางตอนเหนือที่รวมทั้งคาบสมุทรใหญ่สามคาบที่รวมทั้ง[[คาบสมุทรไอบีเรีย]], [[คาบสมุทรอิตาลี]] และ [[คาบสมุทรบอลข่าน]] โดยมีแนวเทือกเขาเป็นที่กั้นเขตแดนทางตอนเหนือที่รวมทั้ง[[เทือกเขาพิเรนีส]]ที่แยก[[สเปน]]จาก[[ฝรั่งเศส]], [[เทือกเขาแอลป์]]ที่แยก[[อิตาลี]]จาก[[ยุโรปกลาง]], [[เทือกเขาไดนาริคแอลป์]]ตามแนวตะวันออกของ[[ทะเลเอเดรียติค]] และ[[เทือกเขาบอลข่าน]] กับ [[เทือกเขาราดาพี]] (Rhodope Mountains) <!--ออกเสียงตาม Merriam-Webster-->ของคาบสมุทรบอลข่านที่แยกทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจากบริเวณแบบ[[ภาคพื้นทวีป]]ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันตก

พืชจะมีลักษณะชอบน้ำเค็มไม่เหมาะกับจำพวกต้นกระบองเพรช
บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนกว้างออกไปถึงทางตะวันตกของทวีปเอเชียที่ครอบคลุมด้านตะวันตกและด้านใต้ของ[[อานาโตเลีย]]ยกเว้นบริเวณที่มีภูมิอากาศแบบ[[ภาคพื้นทวีป]]ของตอนกลางอานาโตเลีย และรวมทั้งบริเวณที่มี[[ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน]]ของ[[บริเวณลว้าน]]ทางตะวันออกสุดของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่แยกทางด้านตะวันออกและใต้โดย[[ทะเลทรายซีเรีย]] และ [[ทะเลทรายเนเกฟ]]
บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนกว้างออกไปถึงทางตะวันตกของทวีปเอเชียที่ครอบคลุมด้านตะวันตกและด้านใต้ของ[[อานาโตเลีย]]ยกเว้นบริเวณที่มีภูมิอากาศแบบ[[ภาคพื้นทวีป]]ของตอนกลางอานาโตเลีย และรวมทั้งบริเวณที่มี[[ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน]]ของ[[บริเวณลว้าน]]ทางตะวันออกสุดของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่แยกทางด้านตะวันออกและใต้โดย[[ทะเลทรายซีเรีย]] และ [[ทะเลทรายเนเกฟ]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:40, 19 มิถุนายน 2561

บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่ปลูกมะกอกได้
แผนที่การเมืองของบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน

บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน (อังกฤษ: Mediterranean area) ประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในความหมายทางชีวภูมิศาสตร์ (biogeography) “บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน” หมายถึงบริเวณที่มีภูมิอากาศแบบภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนที่อุ่น, มีฝนตกระหว่างฤดูหนาว, แห้งระหว่างหน้าร้อนที่เหมาะแก่พืชพันธุ์เมดิเตอร์เรเนียน กฎที่ว่ากันง่ายๆ คือเป็นบริเวณ “โลกเก่า” (Old World) ที่ปลูกมะกอกได้

ภูมิศาสตร์

บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปคือ ยุโรป, เอเชีย และ แอฟริกา

ยุโรปอยู่ทางตอนเหนือที่รวมทั้งคาบสมุทรใหญ่สามคาบที่รวมทั้งคาบสมุทรไอบีเรีย, คาบสมุทรอิตาลี และ คาบสมุทรบอลข่าน โดยมีแนวเทือกเขาเป็นที่กั้นเขตแดนทางตอนเหนือที่รวมทั้งเทือกเขาพิเรนีสที่แยกสเปนจากฝรั่งเศส, เทือกเขาแอลป์ที่แยกอิตาลีจากยุโรปกลาง, เทือกเขาไดนาริคแอลป์ตามแนวตะวันออกของทะเลเอเดรียติค และเทือกเขาบอลข่าน กับ เทือกเขาราดาพี (Rhodope Mountains) ของคาบสมุทรบอลข่านที่แยกทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจากบริเวณแบบภาคพื้นทวีปของยุโรปกลางและยุโรปตะวันตก

บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนกว้างออกไปถึงทางตะวันตกของทวีปเอเชียที่ครอบคลุมด้านตะวันตกและด้านใต้ของอานาโตเลียยกเว้นบริเวณที่มีภูมิอากาศแบบภาคพื้นทวีปของตอนกลางอานาโตเลีย และรวมทั้งบริเวณที่มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนของบริเวณลว้านทางตะวันออกสุดของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่แยกทางด้านตะวันออกและใต้โดยทะเลทรายซีเรีย และ ทะเลทรายเนเกฟ

ทางตอนเหนือของบริเวณมาเกรบ (Maghreb) ของทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอาฟริกามีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนที่แยกจากผีส่วนอื่นของทวีปโดยทะเลทรายซาฮาราที่แล่นตลอดแนวทางตอนเหนือของทวีปโดยเทือกเขาแอตลาส ทางฝั่งตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทะเลทรายซาฮารายืดออกทางฝั่งทะเลตอนใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยกเว้นทางตอนเหนือของคาบสมุทรเซอเรเนเอคา (Cyrenaica)ในลิเบียที่มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนแบบแห้ง

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น