ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสมุทร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7226282 โดย EZBELLAด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Jijung27 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขจากคำว่า "หมาสมุทร" เป็น "มหาสมุทร"
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:World ocean map.gif|thumb|right|200px|การแบ่งหมาสมุทรตามแบบต่างๆ]]
[[ไฟล์:World ocean map.gif|thumb|right|200px|การแบ่งมหาสมุทรตามแบบต่างๆ]]
[[ไฟล์:Ocean gravity map.gif|thumb|right|200px|แผ่นที่กายภาพ[[ก้นทะเล]]]]
[[ไฟล์:Ocean gravity map.gif|thumb|right|200px|แผ่นที่กายภาพ[[ก้นทะเล]]]]
'''มหาสมุทร''' ({{lang-en|ocean}}) เป็นผืนน้ำ[[ทะเล]]ขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิว[[โลก]] มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ [[มหาสมุทรแปซิฟิก]] [[มหาสมุทรแอตแลนติก]] [[มหาสมุทรอินเดีย]] [[มหาสมุทรใต้]] และ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]<ref name="oed.130201">{{cite web |url=http://www.oed.com/view/Entry/130201?redirectedFrom=ocean#eid |title=ocean, n |publisher=Oxford English Dictionary |accessdate=February 5, 2012 }}</ref><ref name="mw.ocean">{{cite web |url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/ocean |title=ocean |publisher=Merriam-Webster |accessdate=February 6, 2012 }}</ref> คำว่า ''sea'' หรือ''[[ทะเล]]'' บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ใน[[ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน]]ได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน<ref name="pri.sea">{{cite web |url=http://wordnetweb.princeton.edu/perl/webwn?s=sea |title=WordNet Search — sea |publisher=Princeton University |accessdate=February 21, 2012 }}</ref>
'''มหาสมุทร''' ({{lang-en|ocean}}) เป็นผืนน้ำ[[ทะเล]]ขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิว[[โลก]] มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ [[มหาสมุทรแปซิฟิก]] [[มหาสมุทรแอตแลนติก]] [[มหาสมุทรอินเดีย]] [[มหาสมุทรใต้]] และ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]<ref name="oed.130201">{{cite web |url=http://www.oed.com/view/Entry/130201?redirectedFrom=ocean#eid |title=ocean, n |publisher=Oxford English Dictionary |accessdate=February 5, 2012 }}</ref><ref name="mw.ocean">{{cite web |url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/ocean |title=ocean |publisher=Merriam-Webster |accessdate=February 6, 2012 }}</ref> คำว่า ''sea'' หรือ''[[ทะเล]]'' บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ใน[[ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน]]ได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน<ref name="pri.sea">{{cite web |url=http://wordnetweb.princeton.edu/perl/webwn?s=sea |title=WordNet Search — sea |publisher=Princeton University |accessdate=February 21, 2012 }}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:26, 9 มิถุนายน 2561

การแบ่งมหาสมุทรตามแบบต่างๆ
แผ่นที่กายภาพก้นทะเล

มหาสมุทร (อังกฤษ: ocean) เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิวโลก มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก[1][2] คำว่า sea หรือทะเล บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน[3]

มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6×108 กม.2) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71%[4] มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และนักสมุทรศาสตร์กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น[4] ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์)[5] มีความลึกเฉลี่ยที่ 3,700 เมตร (12,100 ฟุต)*[6][7][8]

เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของโลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึก ๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้น้ำมากกว่า 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้น[9] จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต

ข้อมูลเพิ่มเติม

อ้างอิง

  1. "ocean, n". Oxford English Dictionary. สืบค้นเมื่อ February 5, 2012.
  2. "ocean". Merriam-Webster. สืบค้นเมื่อ February 6, 2012.
  3. "WordNet Search — sea". Princeton University. สืบค้นเมื่อ February 21, 2012.
  4. 4.0 4.1 "NOAA – National Oceanic and Atmospheric Administration – Ocean". Noaa.gov. สืบค้นเมื่อ 2012-11-08.
  5. Qadri, Syed (2003). "Volume of Earth's Oceans". The Physics Factbook. สืบค้นเมื่อ 2007-06-07.
  6. Charette, Matthew; Smith, Walter H. F. (2010). "The volume of Earth's ocean". Oceanography. 23 (2): 112–114. doi:10.5670/oceanog.2010.51. สืบค้นเมื่อ 27 September 2012.
  7. "Volumes of the World's Oceans from ETOPO1". NOAA. สืบค้นเมื่อ 2015-03-07.
  8. "CIA World Factbook". CIA. สืบค้นเมื่อ 2015-04-05.
  9. Drogin, Bob (August 2, 2009). "Mapping an ocean of species". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ August 18, 2009.