ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าปเสนทิโกศล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PanyaPangya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ปเสนทิ''' (ปะ-เส-นะ-ทิ; {{lang-pi|Pasenadi}}) หรือ '''ประเสนชิต''' (ปฺระ-เส-นะ-ชิด; {{lang-sa|Prasenajit}}) เป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[โกศล]]จาก[[ราชวงศ์อิกษวากุ]] เสวยราชย์อยู่ ณ เมือง[[สาวัตถี]] สืบต่อจากพระบิดา คือ [[พระเจ้าสัญชัยมหาโกศล]]<ref>Raychaudhuri H. (1972). ''Political History of Ancient India'', Calcutta: University of Calcutta, pp.90,176</ref> ถือเป็น[[อุบาสก]]ที่สำคัญพระองค์หนึ่งของ[[พระโคตมพุทธะ|พระพุทธเจ้า]] และทรงสร้างวิหารอารามไว้หลายแห่ง
[[ไฟล์:Prasenajit of Kosala Pays a visit to buddha.jpg|thumb|ภาพวาดพระเจ้าปเสนทิโกศล เสด็จเข้าพบพระพุทธเจ้าครั้งที่สอง]]
'''พระเจ้าปเสนทิโกศล''' มีพระนามเดิมว่า ปเสนทิ เป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้ามหาโกศล]] กรุง[[สาวัตถี]] เมืองหลวงของ[[แคว้นโกศล]] มีพระภคินีนามว่า เวเทหิ พระมเหสีของพระเจ้าพิมพิสารแห่งกรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ เมื่อได้เจริญวัยได้ไปศึกษาศิลปวิทยาที่เมือง[[ตักสิลา]] ณ สำนักตักกสิลา ต่อมาก็ได้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาเป็น พระเจ้าปเสนทิโกศล


== พระสหาย ==
==พระชนมชีพ==
เจ้าชายมีพระสหายอีก 2 พระองค์ ที่เป็นศิษย์ร่วมรุ่นกัน คือ [[เจ้าชายมหาลิ]]จากกรุง[[เวสาลี]] [[แคว้นวัชชี]] และ[[เจ้าชายพันธุละ]]จากกรุง[[กุสินารา]] หนึ่งในเมืองหลวงของ[[แคว้นมัลละ]]


ต้นพระชนมชีพ พระเจ้าปเสนทิทรงศึกษา ณ [[ตักศิลา]] ต่อมา ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[โกศล]] (ปัจจุบัน คือ [[อวัธ]]){{sfn|Sastri|1988|p=17}} พระมเหสีพระองค์แรก คือ เจ้าหญิงพระองค์หนึ่งจาก[[มคธ]] พระมเหสีพระองค์ที่สองมีพระนามว่า วาสวขัตติยา เป็นพระธิดาของ[[พระเจ้ามหานามะ]]แห่ง[[ราชวงศ์ศากยะ]] กับหญิงรับใช้นามว่า [[นาคมุนทา]] พระเจ้าปเสนทิกับพระนางวาสวขัตติยามีพระโอรสพระองค์หนึ่งพระนามว่า [[วิฑูฑภะ]] และมีพระธิดาพระองค์หนึ่งพระนามว่า [[วชิรกุมารี]] พระธิดาพระองค์นี้เสกสมรสกับ[[พระเจ้าอชาตศัตรู]]{{sfn|Sastri|1988|p=17}} พระเจ้าปเสนทิยังมีพระมเหสีพระองค์ที่สาม พระนามว่า มัลลิกา เป็นบุตรีของคนทำมาลัย
== แสดงศิลปวิทยา ==
เมื่อจบการศึกษาแล้วต่างก็แยกย้ายกันกลับ[[มาตุภูมิ]] และได้แสดงศิลปวิทยาให้พระ[[ประยูรญาติ]]ได้ชมโดยทั่วหน้ากัน พระเจ้ามหาโกศลได้มอบพระราชบัลลังก์ให้พระเจ้าปเสนทิโกศลขึ้น[[ครองราชย์]]แทนในเวลาต่อมา


ครั้งหนึ่ง เมื่อพระเจ้าปเสนทิเสด็จไปจากพระนคร มหาอำมาตย์ของพระองค์ นามว่า [[ทีฆการายนะ]] ตั้งเจ้าชายวิฑูฑภะขึ้นเสวยราชย์แทน พระเจ้าปเสนทิจึงเสด็จไปยังมคธเพื่อขอความช่วยเหลือจากพระเจ้าอชาตศัตรู แต่พระเจ้าปเสนทิสิ้นพระชนม์ที่นอกประตูเมือง[[ราชคฤห์]]เสียก่อนจะได้พบพระเจ้าอชาตศัตรู<ref>Raychaudhuri H. (1972). ''Political History of Ancient India'', Calcutta: University of Calcutta, pp.176-8,186</ref> เจ้าชายวิฑูฑภะจึงได้เป็นพระมหากษัตริย์ต่อจากพระองค์โดยชอบ{{sfn|Sen|1999|p=107}} แต่ ''[[ปุราณะ]]'' ว่า ผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ คือ กษุทรกะ มิใช่วิฑูฑภะ<ref>Misra, V. S. (2007). ''Ancient Indian Dynasties'', Mumbai: Bharatiya Vidya Bhavan, {{ISBN|81-7276-413-8}}, pp.287-8</ref>
== เจ้าชายพันธุละหนีออกจากกุสินารา ==
ส่วนเจ้าชายพันธุละถูกคู่อริกลั่นแกล้ง แม้การแสดงศิลปวิทยาท่ามกลางพระประยูรญาติจะจบลงด้วยความพอใจของมหาสมาคม แต่เจ้าชายพันธุละทรงน้อยพระทัย จึงหนีออกจากเมืองกุสินารา มาขอถวายตัวเข้ารับราชการรับใช้พระเจ้าปเสนทิโกศล พระองค์ทรงดีพระทัยมาก จึงทรงแต่งตั้งให้พันธุละเป็น[[เสนาบดี]]


==อ้างอิง==
== ศาสนา ==
{{reflist}}
พระเจ้าปเสนทิโกศลเดิมทีนับถือศาสนานิครนถ์ ([[ศาสนาเชน]]) และเชื่อถือในการบูชายัญของพราหมณ์อีกด้วย เมื่อมานับถือพระพุทธศาสนาแล้วก็ยังไม่เลิกบูชายัญ และยังติดต่อกับพวกชีเปลือยเป็นต้นอยู่


==บรรณานุกรม==
== พบ[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธเจ้า]]ครั้งแรก ==
* {{citation |editor-last=Sastri |editor-first=K. A. Nilakanta |editorlink=K. A. Nilakanta Sastri |title=Age of the Nandas and Mauryas |url=https://books.google.co.in/books?id=YoAwor58utYC |date=1988 |origyear=1967 |publisher=[[Motilal Banarsidass]] |location=[[Delhi]] |isbn=81-208-0465-1 |edition=Second }}
ครั้งหนึ่ง ขณะที่อยู่สำนักพระพุทธเจ้า พอดีเหล่าชีเปลือยเดินผ่านมาใกล้ ๆ พระเจ้าปเสนทิโกศลประคองอัญชลีประกาศว่า ขอนมัสการพระคุณเจ้าทั้งหลาย แล้วหันมาทูลพระพุทธเจ้าว่า สมณะเหล่านั้นเป็น[[พระอรหันต์]] พระพุทธเจ้าตรัสเตือนสติว่า
* {{citation |last=Sen |first=Sailendra Nath |title=Ancient Indian History and Civilization |url=https://books.google.co.in/books?id=Wk4_ICH_g1EC |year=1999 |origyear=1988 |publisher=New Age International Publishers |edition=Second |isbn=81-224-1198-3 }}


{{Authority control}}
{{คำพูด|มหาบพิตรเป็นคฤหัสถ์บริโภคกาม รู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นพระอรหันต์ จะรู้ว่าใครมี[[ศีล]]หรือไม่ ต้องอยู่ด้วยกันนาน ๆ จะรู้ว่ามีความสะอาดหรือไม่ ด้วยการทำงาน (หรือ[[เจรจา]]) จะรู้ว่ามี[[ปัญญา]]หรือไม่ ด้วย[[การสนทนา]] จะรู้ว่ากำลัง[[ใจ]]เข้มแข็งหรือไม่ ก็ต้องเมื่อตกอยู่ในอันตราย|พระพุทธเจ้า}}


[[Category:สาวกของพระโคตมพุทธเจ้า]]
== ประกอบพิธีบูชายัญ ==
[[Category:บุคคลจากโกศล]]
ครั้งหนึ่ง พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงประกอบพิธี[[บูชายัญ]]ยิ่งใหญ่ มีการตระเตรียมฆ่าสัตว์อย่างละ 700 ตัว เพราะสุบินได้ยินเสียงประหลาด บังเอิญว่า[[พระนางมัลลิกา]] พระมเหสีทรงทัดทาน การฆ่าสัตว์ครั้งมโหฬารจึงไม่เกิดขึ้นและเป็นผู้ชักจูงพระองค์เข้าสู่[[พระพุทธศาสนา]] <ref>ธรรมมะไทย เรื่อง [http://www.dhammathai.org/sawok/sawok05.php พระเจ้าปเสนทิโกศล]</ref>
[[Category:บุคคลจากสาวัตถี]]

[[Category:ราชวงศ์อิกษวากุ]]
== เป็นผู้อุปถัมภ์ทุกศาสนา ==
[[Category:พระมหากษัตริย์อินเดียในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล]]
จากหลักฐานดังกล่าวแสดงว่าพระเจ้าปเสนทิโกศลเป็นผู้อุปถัมภ์ทุกศาสนา และให้ความสำคัญศาสนาต่าง ๆ ทัดเทียมกัน ต่อเมื่อมานับถือ[[พระพุทธศาสนา]]น้อมเอาพระ[[รัตนตรัย]]มาเป็นสรณะเด็ดขาดแล้ว จึงทรงเลิกการกระทำที่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนชีวิต และนำเอาหลักคำสอนของพระพุทธศาสนามาเป็นแบบอย่างดำเนินชีวิตมากยิ่งขึ้น

พระนางมัลลิกา เป็นสาวิกาผู้บรรลุ[[อริยบุคคล#โสดาบัน|โสดาบัน]]ตั้งแต่อายุยังน้อย มีศรัทธามั่นคงในพระ[[รัตนตรัย]] เมื่อมาเป็นมเหสีของพระเจ้าปเสนทิโกศล ย่อมมีอิทธิพลต่อความเชื่อของพระราชสวามีและแนะนำให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาในที่สุด กอปรกับสุทัตตคหบดี เพราะฉะนั้นพระเจ้าปเสนทิโกศลจึงทรงถวายความอุปถัมภ์ดูแลพระพุทธองค์และพระ[[ภิกษุ]]สงฆ์อย่างดี พระองค์เองเสด็จเข้าเฝ้าเพื่อกราบทูลถามปัญหาธรรมและฟังพระพุทธโอวาทอยู่เสมอ เพราะต้องการเป็นญาติทางสายโลหิตกับพระพุทธเจ้า พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงเป็นต้นเหตุให้เกิดสงครามล้าง[[โคตร]]ในหมู่ศากยะในเวลาต่อมา ศากยวงศ์ต้องถูกทำลายล้างจนสูญหายไปจาก[[ประวัติศาสตร์]]

ด้วยพระอุปถัมภ์ของพระเจ้าปเสนทิโกศลนี่เองคือเหตุผลที่เมืองสาวัตถีเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่สำคัญอันดับที่ 2 รองจากเมือง[[ราชคฤห์]]

== พบพระพุทธเจ้าครั้งสุดท้าย ==
ครั้งหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ [[เมทฬุปนิคม]] ใน[[แคว้นสักกะ]]ของพวกศากยะ พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จประพาสหัวเมืองผ่านมาทางนั้น โปรดให้พักกองทัพไว้ไม่ไกลวัดนัก ตั้งพระราชหฤทัยจะเฝ้าพระพุทธเจ้า ทรงมอบเครื่องราชกกุธภัณฑ์ให้อำมาตย์ผู้หนึ่งชื่อว่า ทีฆการายนะซึ่งเป็นหลานชายของพันธุละเสนาบดีที่ถูกฆ่าโดยไร้ความผิดให้รักษาไว้ เสด็จเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้าใน[[พระคันธกุฎี]]กราบทูลถึงความที่พระองค์มีความเคารพนับถือพระพุทธเจ้าด้วยเหตุต่างๆ เป็นอันมาก ในตอนสุดท้ายกราบทูลว่า {{คำพูด|ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็น[[กษัตริย์]] หม่อมฉันก็เป็นกษัตริย์ พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นชาวโกศล หม่อมฉันก็เป็นชาวโกศล พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระชนมายุ 80 ปี หม่อมฉันก็มีอายุ 80 ปีเหมือนกัน|พระเจ้าปเสนทิโกศล}}

ในระหว่างที่พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด้จเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้าในพระคันธกุฎีแต่เฉพาะพระองค์ ทีฆการายน[[อำมาตย์]]เห็นเป็นโอกาสเหมาะจึงนำ[[เครื่องราชกกุธภัณฑ์]]กลับไป[[กรุงสาวัตถี]] สถาปนาวิฑูฑภะซึ่งดำรงตำแหน่งเสนาบดี (แม่ทัพ) ขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินแทน เหลือไว้แต่[[ม้า]]ตัวหนึ่งกับนางสนมคนหนึ่ง

เมื่อพระเจ้าปเสนทิโกศลทูลลาเสด็จกลับออกมาจากพระคันธกุฎี ไม่พบทีฆการายนอำมาตย์ซึ่งพระองค์มอบให้รักษาเครื่องราชกกุธภัณฑ์ไว้ จึงเสด็จไปยังค่ายที่พักพล พบเพียงม้าตัวหนึ่งกับนางสนมคนหนึ่ง สอบถามได้ความว่าทีฆการายนอำมาตย์กับวิฑูฑภเสนาบดียกกองทัพกลับกรุงสาวัตถีแล้วพร้อมทั้งเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ก็ทรงแน่พระทัยว่าเจ้าชายวิฑูฑภะเป็นกบฏแน่ จึงเสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ เพื่อขอกำลังทหารจาก[[พระเจ้าอชาตศัตรู]] พระราชาแห่ง[[แคว้นมคธ]]ผู้เป็นพระราชนัดดาไปกู้ราชบัลลังก์คืน <ref>[http://clubchay.tripod.com/buddha/buddha11.html พระเจ้าปเสนทิโกศล] จาก [http://clubchay.tripod.com]</ref> แต่เนื่องด้วยทรงพระ[[ชรา]]และทรงเหน็ดเหนื่อยในการเดินทาง จึงสิ้นพระชนม์อยู่นอก[[ประตูเมือง]]ราชคฤห์ในราตรีที่เสด็จไปถึงนั่นเอง เหล่านางสนมก็ร้องไห้คร่ำครวญ ความทราบถึง[[พระเจ้าอชาตศัตรู]] จึงโปรดให้จัดการพระบรม[[ศพ]]ให้เสร็จสิ้นไปด้วยดี แต่หลังจากนั้นไม่นาน พระเจ้าวิฑูฑภะได้ถูกน้ำหลากพัดหายไปพร้อมกับกองทัพ หลังบุกโจมตีกรุงกบิลพัสดุ์และทำการกวาดล้างศากยวงศ์จนหมดสิ้น เนื่องจากแค้นที่ถูกดูหมิ่น แคว้นโกศลก็ไร้ซึ่งรัชทายาทหรือผู้ที่จะมาเป็นพระราชาปกครอง แต่ว่าเนื่องจากพระเจ้าอชาตศัตรูนั้นทรงพระประสูติมาจากพระนางเวเทหิ ผู้เป็นพระพี่นางของพระเจ้าปเสนทิโกศลซึ่งมีเชื้อสายแห่งราชวงศ์โกศล ทำให้พระเจ้าอชาตศัตรูผู้มีเชื้อสายราชวงศ์โกศล มีสิทธิ์ที่จะปกครองแคว้น หลังจากนั้นพระองค์ก็ได้ผนวกแคว้นโกศลและ[[แคว้นสักกะ]]เข้ากับแคว้นมคธมาด้วยกันทำให้แคว้นมคธกว้างใหญ่ไพศาลตลอดมาจนถึงสมัย[[พระเจ้าอโศกมหาราช]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{บุคคลในพุทธประวัติ}}

[[หมวดหมู่:บุคคลในพุทธประวัติ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:59, 5 มิถุนายน 2561

ปเสนทิ (ปะ-เส-นะ-ทิ; บาลี: Pasenadi) หรือ ประเสนชิต (ปฺระ-เส-นะ-ชิด; สันสกฤต: Prasenajit) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งโกศลจากราชวงศ์อิกษวากุ เสวยราชย์อยู่ ณ เมืองสาวัตถี สืบต่อจากพระบิดา คือ พระเจ้าสัญชัยมหาโกศล[1] ถือเป็นอุบาสกที่สำคัญพระองค์หนึ่งของพระพุทธเจ้า และทรงสร้างวิหารอารามไว้หลายแห่ง

พระชนมชีพ

ต้นพระชนมชีพ พระเจ้าปเสนทิทรงศึกษา ณ ตักศิลา ต่อมา ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งโกศล (ปัจจุบัน คือ อวัธ)[2] พระมเหสีพระองค์แรก คือ เจ้าหญิงพระองค์หนึ่งจากมคธ พระมเหสีพระองค์ที่สองมีพระนามว่า วาสวขัตติยา เป็นพระธิดาของพระเจ้ามหานามะแห่งราชวงศ์ศากยะ กับหญิงรับใช้นามว่า นาคมุนทา พระเจ้าปเสนทิกับพระนางวาสวขัตติยามีพระโอรสพระองค์หนึ่งพระนามว่า วิฑูฑภะ และมีพระธิดาพระองค์หนึ่งพระนามว่า วชิรกุมารี พระธิดาพระองค์นี้เสกสมรสกับพระเจ้าอชาตศัตรู[2] พระเจ้าปเสนทิยังมีพระมเหสีพระองค์ที่สาม พระนามว่า มัลลิกา เป็นบุตรีของคนทำมาลัย

ครั้งหนึ่ง เมื่อพระเจ้าปเสนทิเสด็จไปจากพระนคร มหาอำมาตย์ของพระองค์ นามว่า ทีฆการายนะ ตั้งเจ้าชายวิฑูฑภะขึ้นเสวยราชย์แทน พระเจ้าปเสนทิจึงเสด็จไปยังมคธเพื่อขอความช่วยเหลือจากพระเจ้าอชาตศัตรู แต่พระเจ้าปเสนทิสิ้นพระชนม์ที่นอกประตูเมืองราชคฤห์เสียก่อนจะได้พบพระเจ้าอชาตศัตรู[3] เจ้าชายวิฑูฑภะจึงได้เป็นพระมหากษัตริย์ต่อจากพระองค์โดยชอบ[4] แต่ ปุราณะ ว่า ผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ คือ กษุทรกะ มิใช่วิฑูฑภะ[5]

อ้างอิง

  1. Raychaudhuri H. (1972). Political History of Ancient India, Calcutta: University of Calcutta, pp.90,176
  2. 2.0 2.1 Sastri 1988, p. 17.
  3. Raychaudhuri H. (1972). Political History of Ancient India, Calcutta: University of Calcutta, pp.176-8,186
  4. Sen 1999, p. 107.
  5. Misra, V. S. (2007). Ancient Indian Dynasties, Mumbai: Bharatiya Vidya Bhavan, ISBN 81-7276-413-8, pp.287-8

บรรณานุกรม