ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าเตียน"

พิกัด: 13°44′46.9″N 100°29′27.6″E / 13.746361°N 100.491000°E / 13.746361; 100.491000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนา[[กรุงรัตนโกสินทร์]] โดยอยู่บริเวณด้านหลัง[[พระบรมมหาราชวัง]] และ[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]] โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัย[[รัชกาลที่ 4]] ที่แถบนี้เคยเกิด[[เพลิงไหม้]]ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "[[ฮาเตียน]]" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของ[[ประเทศเวียดนาม]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[จังหวัดเกียนซาง]] ''ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ''<ref name=การ>{{cite web|url=http://catholichaab.com/main/index.php/2015-09-22-02-53-59/2015-09-30-02-35-12/527-2015-10-19-04-34-47|title=ประวัติศาสตร์การอพยพของชาวเวียดนาม|work=หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ|date=2015-10-19|accessdate=2018-02-20}}</ref>) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของ[[ชาวญวน]]อพยพหนีภัยสงครามจาก[[เว้]] ตั้งแต่ยุค[[กรุงธนบุรี]] ในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง<ref name=พิ/> และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.resource.lib.su.ac.th/rattanakosin/index.php/2014-10-27-08-52-32/2015-10-20-07-26-54|work=ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์|accessdate=2018-02-20|title=ชุมชนท่าเตียน}}</ref> แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่[[อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา]] โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของ[[ชาวจีนโพ้นทะเล|ชาวจีน]]ด้วย<ref name=พิ/>
ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนา[[กรุงรัตนโกสินทร์]] โดยอยู่บริเวณด้านหลัง[[พระบรมมหาราชวัง]] และ[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]] โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัย[[รัชกาลที่ 4]] ที่แถบนี้เคยเกิด[[เพลิงไหม้]]ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "[[ฮาเตียน]]" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของ[[ประเทศเวียดนาม]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[จังหวัดเกียนซาง]] ''ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ''<ref name=การ>{{cite web|url=http://catholichaab.com/main/index.php/2015-09-22-02-53-59/2015-09-30-02-35-12/527-2015-10-19-04-34-47|title=ประวัติศาสตร์การอพยพของชาวเวียดนาม|work=หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ|date=2015-10-19|accessdate=2018-02-20}}</ref>) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของ[[ชาวญวน]]อพยพหนีภัยสงครามจาก[[เว้]] ตั้งแต่ยุค[[กรุงธนบุรี]] ในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง<ref name=พิ/> และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.resource.lib.su.ac.th/rattanakosin/index.php/2014-10-27-08-52-32/2015-10-20-07-26-54|work=ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์|accessdate=2018-02-20|title=ชุมชนท่าเตียน}}</ref> แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่[[อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา]] โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของ[[ชาวจีนโพ้นทะเล|ชาวจีน]]ด้วย<ref name=พิ/>


และยังมี[[ตำนานเมือง]]ที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของ[[ทวารบาล|ยักษ์เฝ้าประตูวัด]]สองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์[[วัดอรุณราชวราราม|วัดแจ้ง]] จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด<ref>{{cite web|url=http://www.nationtv.tv/main/content/378581562/|work=[[เนชั่นทีวี]]|title="ท่าเตียน" จากเมือง "ท่า" สู่เมือง "เที่ยว"|date=2017-11-11|accessdate=2018-02-20|first=เฟรม - สลิตา|last= พรรณลึก}}</ref> ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤาษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม<ref name=พิ>{{cite web|url=http://www.sanfah.com/portfolio/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3season-2-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99|work=[[พินิจนคร]]|title=พินิจนคร(Season 2) ตอน ท่าเตียน|date=2009-12-21|accessdate=2018-02-21}}</ref>
และยังมี[[ตำนานเมือง]]ที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของ[[ทวารบาล|ยักษ์เฝ้าประตูวัด]]สองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์[[วัดอรุณราชวราราม|วัดแจ้ง]] จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด<ref>{{cite web|url=http://www.nationtv.tv/main/content/378581562/|work=[[เนชั่นทีวี]]|title="ท่าเตียน" จากเมือง "ท่า" สู่เมือง "เที่ยว"|date=2017-11-11|accessdate=2018-02-20|first=เฟรม - สลิตา|last= พรรณลึก}}</ref> ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม<ref name=พิ>{{cite web|url=http://www.sanfah.com/portfolio/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3season-2-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99|work=[[พินิจนคร]]|title=พินิจนคร(Season 2) ตอน ท่าเตียน|date=2009-12-21|accessdate=2018-02-21}}</ref>


ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มี[[ร้านอาหาร]]และ[[ร้านกาแฟ]]เป็นจำนวนมาก<ref>{{cite web|url=https://www.timeout.com/bangkok/th/restaurants/%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B9%88-%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C|title=รวมร้านอาหารอร่อยและคาเฟ่น่านั่ง ย่านท่าเตียน-วัดโพธิ์|accessdate=2018-02-20|work=TimeOut|author=Time Out Bangkok staff|date=2017-09-19}}</ref> ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น<ref name=ท่า/> เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่[[ถนนท้ายวัง]]จนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัย[[รัชกาลที่ 5]] จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัว[[U|ยู]] ด้วยสถาปัตยกรรมแบบ[[นีโอคลาสสิก]] และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่ง[[ค้าส่ง]]แห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้น<ref name=ฮิว>{{cite web|work=[[เดลินิวส์]]|date=2014-10-08|accessdate=2018-01-20|url=https://www.dailynews.co.th/article/272070|title=ย้อนวันวานย่านเก่า "ท่าเตียน" เปิดบันทึกประวัติศาสตร์บางกอก}}</ref><ref>[https://pirapirastory.wordpress.com/2018/05/07/thatienxingtaklak/ ท่องเที่ยววิถีชุมชน ช้อปปิ้งตลาดนัดชุมชน เที่ยวชมนิทรรศการในงาน “ท่าเตียนซิงตัคลั้ค” by Pira Pira 's Story]</ref>ในรัชสมัย[[รัชกาลที่ 6]] ท่าเตียนมีสถานะเป็น[[ตำบล]]ชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง<ref name=การ/> (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบัน[[อาคารพาณิชย์]]ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดย[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]]ในปี พ.ศ. 2556<ref name=ฮิว/><ref>{{cite web|url=http://www.scb.co.th/scbchallenge_emag/assets/pdf/01.pdf|accessdate=2018-02-21|work=[[ธนาคารไทยพาณิชย์]]|title=HUMAN WILD|format=[[PDF]]}}</ref> ให้แลดูใหม่และสวยงามยิ่งขึ้น เช่นเดียวกับที่[[ท่าช้าง]]ที่อยู่ใกล้เคียง โดยทำการปรับปรุงทั้งสิ้น 55 คูหา<ref>{{cite web|url=http://www.resource.lib.su.ac.th/rattanakosin/index.php/43-landmark/building/93-2012-02-07-07-29-07|accessdate=2018-02-20|work=ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์|title=ตึกแถวถนนมหาราช บริเวณท่าเตียน}}</ref>
ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มี[[ร้านอาหาร]]และ[[ร้านกาแฟ]]เป็นจำนวนมาก<ref>{{cite web|url=https://www.timeout.com/bangkok/th/restaurants/%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B9%88-%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C|title=รวมร้านอาหารอร่อยและคาเฟ่น่านั่ง ย่านท่าเตียน-วัดโพธิ์|accessdate=2018-02-20|work=TimeOut|author=Time Out Bangkok staff|date=2017-09-19}}</ref> ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น<ref name=ท่า/> เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่[[ถนนท้ายวัง]]จนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัย[[รัชกาลที่ 5]] จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัว[[U|ยู]] ด้วยสถาปัตยกรรมแบบ[[นีโอคลาสสิก]] และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่ง[[ค้าส่ง]]แห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้น<ref name=ฮิว>{{cite web|work=[[เดลินิวส์]]|date=2014-10-08|accessdate=2018-01-20|url=https://www.dailynews.co.th/article/272070|title=ย้อนวันวานย่านเก่า "ท่าเตียน" เปิดบันทึกประวัติศาสตร์บางกอก}}</ref><ref>[https://pirapirastory.wordpress.com/2018/05/07/thatienxingtaklak/ ท่องเที่ยววิถีชุมชน ช้อปปิ้งตลาดนัดชุมชน เที่ยวชมนิทรรศการในงาน “ท่าเตียนซิงตัคลั้ค” by Pira Pira 's Story]</ref>ในรัชสมัย[[รัชกาลที่ 6]] ท่าเตียนมีสถานะเป็น[[ตำบล]]ชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง<ref name=การ/> (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบัน[[อาคารพาณิชย์]]ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดย[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]]ในปี พ.ศ. 2556<ref name=ฮิว/><ref>{{cite web|url=http://www.scb.co.th/scbchallenge_emag/assets/pdf/01.pdf|accessdate=2018-02-21|work=[[ธนาคารไทยพาณิชย์]]|title=HUMAN WILD|format=[[PDF]]}}</ref> ให้แลดูใหม่และสวยงามยิ่งขึ้น เช่นเดียวกับที่[[ท่าช้าง]]ที่อยู่ใกล้เคียง โดยทำการปรับปรุงทั้งสิ้น 55 คูหา<ref>{{cite web|url=http://www.resource.lib.su.ac.th/rattanakosin/index.php/43-landmark/building/93-2012-02-07-07-29-07|accessdate=2018-02-20|work=ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์|title=ตึกแถวถนนมหาราช บริเวณท่าเตียน}}</ref>
บรรทัด 35: บรรทัด 35:


{{coord|13|44|46.9|N|100|29|27.6|E|type:landmark|display=title}}
{{coord|13|44|46.9|N|100|29|27.6|E|type:landmark|display=title}}
[[category:ย่านในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:ย่านในกรุงเทพมหานคร]]
[[category:เขตพระนคร]]
[[หมวดหมู่:เขตพระนคร]]
[[category:ตลาดในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:ตลาดในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่: ท่าเรือด่วนเจ้าพระยา]]
[[หมวดหมู่: ท่าเรือด่วนเจ้าพระยา]]
[[category:ท่าเรือข้ามฟากแม่น้ำเจ้าพระยา]]
[[หมวดหมู่:ท่าเรือข้ามฟากแม่น้ำเจ้าพระยา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:39, 4 มิถุนายน 2561

ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวลงเรือด่วนเจ้าพระยา
ร้านค้าและอาคารพาณิชย์ทางเข้าตลาดท่าเตียน หลังการปรับปรุง

ท่าเตียน เป็นท่าเรือและตลาดแห่งหนึ่ง ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนมหาราช ด้านตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา

ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่บริเวณด้านหลังพระบรมมหาราชวัง และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ที่แถบนี้เคยเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "ฮาเตียน" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเกียนซาง ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ[1]) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวญวนอพยพหนีภัยสงครามจากเว้ ตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง[2] และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด[3] แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวจีนด้วย[2]

และยังมีตำนานเมืองที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของยักษ์เฝ้าประตูวัดสองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์วัดแจ้ง จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด[4] ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม[2]

ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มีร้านอาหารและร้านกาแฟเป็นจำนวนมาก[5] ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น[6] เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่ถนนท้ายวังจนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัวยู ด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่งค้าส่งแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้น[7][8]ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ท่าเตียนมีสถานะเป็นตำบลชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง[1] (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบันอาคารพาณิชย์ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี พ.ศ. 2556[7][9] ให้แลดูใหม่และสวยงามยิ่งขึ้น เช่นเดียวกับที่ท่าช้างที่อยู่ใกล้เคียง โดยทำการปรับปรุงทั้งสิ้น 55 คูหา[10]

ในส่วนที่เป็นท่าเรือ ในอดีตเป็นท่าเรือที่มีเรือเมล์วิ่งไปจนถึงบางบัวทอง, อยุธยา, ชัยนาท, นครสวรรค์ ในปัจจุบันเป็นท่าเรือ (รหัส น8 หรือ N8) สำหรับเรือข้ามฟากไปยังท่าวัดอรุณ ของฝั่งธนบุรี โดยสามารถมองเห็นพระปรางค์วัดอรุณฯและป้อมวิไชยประสิทธิ์ได้อย่างชัดเจนจากฟากนี้[6] และเป็นท่าเรือที่ให้บริการเรือด่วนเจ้าพระยาอีกด้วย เปิดให้บริการตั้งแต่วันจันทร์–วันศุกร์ ในเวลา 06:00–19:00 น.[11]

สถานที่สำคัญที่อยู่ใกล้เคียง

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "ประวัติศาสตร์การอพยพของชาวเวียดนาม". หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. 2015-10-19. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  2. 2.0 2.1 2.2 "พินิจนคร(Season 2) ตอน ท่าเตียน". พินิจนคร. 2009-12-21. สืบค้นเมื่อ 2018-02-21.
  3. "ชุมชนท่าเตียน". ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  4. พรรณลึก, เฟรม - สลิตา (2017-11-11). ""ท่าเตียน" จากเมือง "ท่า" สู่เมือง "เที่ยว"". เนชั่นทีวี. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  5. Time Out Bangkok staff (2017-09-19). "รวมร้านอาหารอร่อยและคาเฟ่น่านั่ง ย่านท่าเตียน-วัดโพธิ์". TimeOut. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  6. 6.0 6.1 "ถอดรหัส "ท่าเตียน" ผ่านอดีตสู่ปัจจุบัน ยลเสน่ห์ริมเจ้าพระยา วัดอรุณ - วัดโพธิ์". ผู้จัดการออนไลน์. 2017-11-24. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  7. 7.0 7.1 "ย้อนวันวานย่านเก่า "ท่าเตียน" เปิดบันทึกประวัติศาสตร์บางกอก". เดลินิวส์. 2014-10-08. สืบค้นเมื่อ 2018-01-20.
  8. ท่องเที่ยววิถีชุมชน ช้อปปิ้งตลาดนัดชุมชน เที่ยวชมนิทรรศการในงาน “ท่าเตียนซิงตัคลั้ค” by Pira Pira 's Story
  9. "HUMAN WILD" (PDF). ธนาคารไทยพาณิชย์. สืบค้นเมื่อ 2018-02-21.
  10. "ตึกแถวถนนมหาราช บริเวณท่าเตียน". ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  11. "16ท่าเรือข้ามฟาก แม่น้ำเจ้าพระยา ท่าเตียน-ท่าวัดอรุณฯ บริเวณตลาดท่าเตียน เขตพระนคร". สวัสดีดอตคอม. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.

แหล่งข้อมูลอื่น

N33
ปากเกร็ด
N32
วัดกลางเกร็ด
N31/1
บ้านพักข้าราชบริพารติวานนท์
N31
กระทรวงพาณิชย์
N30/1
พระนั่งเกล้า
สะพานพระนั่งเกล้า ไทรม้า – แยกนนทบุรี 1
N30
นนทบุรี (พิบูลสงคราม 3)
สะพานพระราม 5
N29/1
N29
พิบูลสงคราม 2
ไม่จอด
วัดเขียน
N28
วัดตึก
N27
N26
วัดเขมา
N25
พิบูลสงคราม 1
ไม่จอด
พระราม 7
N24
ข้ามเขต
จังหวัด
นนทบุรี
กรุงเทพ
N23
วัดสร้อยทอง
บางโพ บางอ้อ – เตาปูน
N22
บางโพ
N21
เกียกกาย
N20
เขียวไข่กา
จอดเป็นบางเที่ยว
N19
กรมชลประทาน
จอดเป็นบางเที่ยว
N18
พายัพ
วัดเทพากร
N17/1
ไม่จอด
วัดเทพนารี
N17
ไม่จอด
สะพานกรุงธน
N16
N15
เทเวศร์
พระราม 8
N14
ไม่จอด
N13
พระอาทิตย์
พระปิ่นเกล้า
N12
ท่ารถไฟ
N11
พรานนก (วังหลัง)
N10
N9
ท่าช้าง
N8
ท่าเตียน
ปิดปรับปรุง จอดที่ท่าวัดอรุณแทน
วัดอรุณ
สนามไชย อิสรภาพ – สามยอด
N7
ราชินี
N6/1
ยอดพิมาน
ไม่จอด
N6
สะพานพุทธ
N5
ราชวงศ์
N4
กรมเจ้าท่า
N3
สี่พระยา
ไอคอนสยาม
N2/1
สายธงส้มเพิ่มจุดจอดชั่วคราว
N2
วัดม่วงแค
ไม่จอด
N1
โอเรียนเต็ล
สะพานตากสิน กรุงธนบุรี – สุรศักดิ์
CEN
สาทร
S1
วัดเศวตฉัตร
ปิดปรับปรุง
S2
วัดวรจรรยาวาส
จอดเป็นบางเที่ยว
S3
วัดราชสิงขร
ข้อมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2565


13°44′46.9″N 100°29′27.6″E / 13.746361°N 100.491000°E / 13.746361; 100.491000