ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันชาติสาธารณรัฐจีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 28: บรรทัด 28:


== การเฉลิมฉลองในไต้หวัน ==
== การเฉลิมฉลองในไต้หวัน ==
[[File:DoubleTenDayParadeOctober101966.jpg|right|thumb|250px|[[Generalissimo|จอมทัพ]] อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน [[เจียง ไคเชก]] เป็นประธานในวันชาติสาธารณรัฐจีน ในปี ค.ศ. 1966]]
[[ไฟล์:DoubleTenDayParadeOctober101966.jpg|right|thumb|250px|[[Generalissimo|จอมทัพ]] อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน [[เจียง ไคเชก]] เป็นประธานในวันชาติสาธารณรัฐจีน ในปี ค.ศ. 1966]]
ในระหว่างการสถาปนา[[สาธารณรัฐจีน (2455–2492)|สาธารณรัฐจีน]]ในแผ่นดินใหญ่ของจีน เกาะ[[ไต้หวัน]]ตกอยู่ภายใต้[[ไต้หวันภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น|การปกครองของญี่ปุ่น]]ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 หลังการประกาศยอมแพ้ของ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ไต้หวันได้รับเอกราชและได้กลับมาเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐจีนอีกครั้ง
ในระหว่างการสถาปนา[[สาธารณรัฐจีน (2455–2492)|สาธารณรัฐจีน]]ในแผ่นดินใหญ่ของจีน เกาะ[[ไต้หวัน]]ตกอยู่ภายใต้[[ไต้หวันภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น|การปกครองของญี่ปุ่น]]ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 หลังการประกาศยอมแพ้ของ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ไต้หวันได้รับเอกราชและได้กลับมาเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐจีนอีกครั้ง



รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:38, 3 มิถุนายน 2561

วันชาติแห่งสาธารณรัฐจีน
สัญลักษณ์ของวันดับเบิลเท็น (เกิดจากการรวมของอักษรจีน คำว่า () "ที่แปลว่า 10" ซ้ำสองครั้ง หรือ "วันสองสิบ" ซึ่งหมายถึงวันที่ 10 เดือน 10 (ตุลาคม))
ชื่ออื่นวันดับเบิลเท็น, ดับเบิลเท็นเดย์
จัดขึ้นโดย สาธารณรัฐจีน
ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน (ปัจจุบัน)
ประเภทประวัติศาสตร์, วัฒนธรรม, ประชาธิปไตย, ชาตินิยม
การเฉลิมฉลองเทศกาล ดอกไม้ไฟ, การเชิดมังกรและคอนเสิร์ต
วันที่10 ตุลาคม
ความถี่ทุกปี
ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน วันชาติหมิงกว๋อปีที่ 107
– 10-10-2018
End
เวลาท้องถิ่น

วันดับเบิลเท็น (จีนตัวย่อ: 双十节; จีนตัวเต็ม: 雙十節; พินอิน: Shuāng Shí Jié) เป็นวันชาติของสาธารณรัฐจีน และเฉลิมฉลองการเริ่มต้นของการลุกฮือหวูชาง เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2454 ซึ่งนำไปสู่การล่มสลายของราชวงศ์ชิงและการสถาปนาสาธารณรัฐจีนเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2455 ดังนั้นรัฐบาลจึงกำหนดวันดังกล่าวให้เป็น วันเฉลิมฉลองชาติ (จีนตัวย่อ: 国庆日; จีนตัวเต็ม: 國慶日; พินอิน: Guóqìng Rì)[1]

ด้วยผลของสงครามกลางเมืองจีน รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐจีนสูญเสียการควบคุมจีนแผ่นดินใหญ่ และอพยพไปยังเกาะไต้หวันใน พ.ศ. 2492 วันเฉลิมฉลองชาติปัจจุบันเฉลิมฉลองในเขตเสรีซึ่งยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐ แต่ชาวจีนโพ้นทะเลบางส่วนก็เฉลิมฉลองด้วยเช่นกัน

การเฉลิมฉลองในไต้หวัน

จอมทัพ อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน เจียง ไคเชก เป็นประธานในวันชาติสาธารณรัฐจีน ในปี ค.ศ. 1966

ในระหว่างการสถาปนาสาธารณรัฐจีนในแผ่นดินใหญ่ของจีน เกาะไต้หวันตกอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 หลังการประกาศยอมแพ้ของจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง ไต้หวันได้รับเอกราชและได้กลับมาเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐจีนอีกครั้ง

ในไต้หวัน การเฉลิมฉลองอย่างเป็นทางการเริ่มจากการประดับธงชาติสาธารณรัฐจีนหน้าบริเวณทำเนียบประธานาธิบดีควบคู่ไปกับการร้องเพลงชาติสาธารณรัฐจีน ในที่สาธารณะ และจะมีการเฉลิมฉลองที่ทำเนียบประธานาธิบดีเป็นที่แรก จากนั้นจะมีการสวนสนามของกองทัพแห่งชาติ หรือ พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน การเฉลิมฉลองยังประกอบด้วย วัฒนธรรมแบบจีนและวัฒนธรรมพื้นแบบไต้หวัน อาทิเช่น การเชิดสิงโต, การเชิดมังกร, วงบรรเลงตีกลอง และการแสดงพื้นเมืองของชาวพื้นเมืองไต้หวัน เมื่อถึงเวลากลางคืน ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนจะออกอากาศถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์อวยพรประชาชน และจะมีการยิงดอกไม้ไฟตามเมืองสำคัญๆทั่วเกาะไต้หวัน

พิธีสวนสนามของทหาร

การเฉลิมฉลองนอกดินแดนไต้หวัน

จีนแผ่นดินใหญ่

ฮ่องกง และ มาเก๊า

ดินแดนโพ้นทะเล

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น