ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทือกเขาทรานส์แอนตาร์กติก"

พิกัด: 85°S 175°W / 85°S 175°W / -85; -175
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
}}
}}


'''เทือกเขาทรานส์แอนตาร์กติก''' ({{lang-en|Transantarctic Mountains}}) เป็น[[เทือกเขา]][[หินตะกอน]]ใน[[ทวีปแอนตาร์กติก]]ซึ่งทอดตัวยาวตั้งแต่[[แหลมอาแดร์]]ทางเหนือของ[[วิกตอเรียแลนด์]]ไปจนถึง[[โคตส์แลนด์]] การวางตัวของเทือกเขาได้แบ่งทวีปแอนตาร์กติกเป็น 2 ฝั่งคือ[[แอนตาร์กติกตะวันออก|ฝั่งตะวันออก]]และ[[แอนตาร์กติกตะวันตก|ฝั่งตะวันตก]] เทือกเขานี้ยังรวมกลุ่มภูเขาที่แยกตัวห่างจากกันจำนวนหนึ่ง
'''เทือกเขาทรานส์แอนตาร์กติก''' ({{lang-en|Transantarctic Mountains}}) เป็น[[เทือกเขา]][[หินตะกอน]]ใน[[ทวีปแอนตาร์กติก]]ซึ่งทอดตัวยาวตั้งแต่[[แหลมอาแดร์]]ทางเหนือของ[[วิกตอเรียแลนด์]]ไปจนถึง[[โคตส์แลนด์]] การวางตัวของเทือกเขาได้แบ่งทวีปแอนตาร์กติกเป็น 2 ฝั่งคือ[[แอนตาร์กติกตะวันออก|ฝั่งตะวันออก]]และ[[แอนตาร์กติกตะวันตก|ฝั่งตะวันตก]] เทือกเขานี้ยังรวมกลุ่มภูเขาและเทือกเล็ก ๆ ที่แยกตัวห่างจากกันจำนวนหนึ่ง


พ.ศ. 2384 [[เซอร์เจมส์ คลาร์ก รอสส์]]เป็นคนแรกที่พบเทือกเขานี้ เพื่อเป็นเกียรติแก่เขาจึงนำชื่อท้ายของเขาไปตั้งชื่อให้กับ[[หิ้งน้ำแข็งรอสส์]] นักสำรวจแห่งชาติอังกฤษได้ข้ามผ่านเทือกเขานี้เป็นครั้งแรกระหว่างการสำรวจแอนตาร์กติก พ.ศ. 2444-2447
พ.ศ. 2384 [[เซอร์เจมส์ คลาร์ก รอสส์]]เป็นคนแรกที่พบเทือกเขานี้ เพื่อเป็นเกียรติแก่เขาจึงนำชื่อท้ายของเขาไปตั้งชื่อให้กับ[[หิ้งน้ำแข็งรอสส์]] นักสำรวจแห่งชาติอังกฤษได้ข้ามผ่านเทือกเขานี้เป็นครั้งแรกระหว่างการสำรวจแอนตาร์กติก พ.ศ. 2444-2447

==ภูมิศาสตร์==
[[ไฟล์:Antarctica major geographical features.jpg|thumb|200px|left|แผนที่ทวีปแอนตาร์กติกา]]
เทือกเขานี้ทอดตัวจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่งของทวีปคือระหว่าง[[ทะเลรอสส์]]กับ[[ทะเลเวิดเดิล]]จึงตั้งชื่อเทือกเขานี้ตามลักษณะการทอดตัวของมัน ความยาวของเทือกเขานี้คือประมาณ 3,500 กม. ทำให้มันเป็นหนึ่งในเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลก [[แอนตาร์กแทนดีส]]ที่ทอดตัวตั้งแต่[[เทือกเขาไวท์มอร์]]และ [[เทือกเขาเอลส์เวิร์ท]]จนถึง[[คาบสมุทรแอนตาร์กติก]]มีความยาวพอ ๆ กับความยาวทรานส์แอนตาร์กติกช่วง[[แหลมอาแดร์]]ถึง[[เทือกเขาควีนม็อด]] เทือกเขาทรานส์แอนตาร์กติกมีคว้ามกว้าง 100-300 กม. ทำให้กลายเป็นเส้นแบ่งะหว่าง[[แอนตาร์กติกาตะวันออก]]กับ[[แอนตาร์กติกาตะวันตก]] [[พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกตะวันออก]]มีอาณาเขตตั้งแต่เทือกเขานี้และ[[ซีกโลกตะวันออก|ฝั่งตะวันออก]]ทั้งหมด ส่วน[[ซีกโลกตะวันตก|ฝั่งตะวันตก]]เทือกเขานี้ติดกับ[[ทะเลรอสส์]]<ref>C.Michael Hogan. 2011</ref>ใน[[วิกตอเรียแลนด์]]ตั้งแต่แหลมอาแดร์ถึง[[อ่าวแม็คเมอร์โด]] [[หิ้งน้ำแข็งรอสส์]]ในอ่าวแม็คเมอร์โดถึง[[ธารน้ำแข็งสกอต]]และพื้นที่[[พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกตะวันตก]]ทั้งหมด

[[ยอดเขา]]และ[[หุบเขาแห้งแล้ง]]บางแห่งของทรานส์แอนตาร์กติกนั้นเป็นสถานที่เพียงไม่กี่แห่งในทวีปแอนตาร์กติกาที่ไม่ได้ปกคลุมด้วยน้ำแข็ง คือพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 4,500 เมตรและ[[หุบเขาแห้งแล้งแม็คเมอร์โด]]ใกล้กับ[[อ่าวแม็คเมอร์โด]]เป็นแห่ลงแสดงปรากฏการณ์พิเศษในแอนตาร์กติกาเพราะเป็นภูมิประเทศที่ไม่มีหิมะและน้ำแข็งเกาะตามพื้นเนื่องจากที่นี้เป็นบริเวณที่มี[[หยาดน้ำฟ้า]]น้อยมาก ๆ ยอดเขาที่สูงที่สุดของทรานส์แอนตาร์กติกคือ[[ภูเขาเคิร์กแพทริค]]ใน[[เทือกเขาควีนอเล็กซานดร้า]]มีความสูง 4,528 เมตร ยอดเขาไม่ได้ปกคลุมด้วยน้ำแข็งแต่จะมีน้ำแข็งรอบ ๆ เรียกว่า[[นานาทาร์ค]]

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:เทือกเขาในทวีปแอนตาร์กติกา]]
[[หมวดหมู่:เทือกเขาในทวีปแอนตาร์กติกา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:26, 29 พฤษภาคม 2561

เทือกเขาทรานส์แอนตาร์กติก
เทือกเขาทรานส์แอนตาร์กติกในวิกตอเรียแลนด์ใกล้กับแหลมอาแดร์
จุดสูงสุด
ยอดภูเขาเคิร์กแพทริค
ความสูง
เหนือระดับน้ำทะเล
4,528 เมตร (14,856 ฟุต)
พิกัด84°20′S 166°25′E / 84.333°S 166.417°E / -84.333; 166.417
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ทวีปทวีปแอนตาร์กติก
พิกัดเทือกเขา85°S 175°W / 85°S 175°W / -85; -175
ข้อมูลทางธรณีวิทยา
อายุหินมหายุคซีโนโซอิก

เทือกเขาทรานส์แอนตาร์กติก (อังกฤษ: Transantarctic Mountains) เป็นเทือกเขาหินตะกอนในทวีปแอนตาร์กติกซึ่งทอดตัวยาวตั้งแต่แหลมอาแดร์ทางเหนือของวิกตอเรียแลนด์ไปจนถึงโคตส์แลนด์ การวางตัวของเทือกเขาได้แบ่งทวีปแอนตาร์กติกเป็น 2 ฝั่งคือฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก เทือกเขานี้ยังรวมกลุ่มภูเขาและเทือกเล็ก ๆ ที่แยกตัวห่างจากกันจำนวนหนึ่ง

พ.ศ. 2384 เซอร์เจมส์ คลาร์ก รอสส์เป็นคนแรกที่พบเทือกเขานี้ เพื่อเป็นเกียรติแก่เขาจึงนำชื่อท้ายของเขาไปตั้งชื่อให้กับหิ้งน้ำแข็งรอสส์ นักสำรวจแห่งชาติอังกฤษได้ข้ามผ่านเทือกเขานี้เป็นครั้งแรกระหว่างการสำรวจแอนตาร์กติก พ.ศ. 2444-2447

ภูมิศาสตร์

แผนที่ทวีปแอนตาร์กติกา

เทือกเขานี้ทอดตัวจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่งของทวีปคือระหว่างทะเลรอสส์กับทะเลเวิดเดิลจึงตั้งชื่อเทือกเขานี้ตามลักษณะการทอดตัวของมัน ความยาวของเทือกเขานี้คือประมาณ 3,500 กม. ทำให้มันเป็นหนึ่งในเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลก แอนตาร์กแทนดีสที่ทอดตัวตั้งแต่เทือกเขาไวท์มอร์และ เทือกเขาเอลส์เวิร์ทจนถึงคาบสมุทรแอนตาร์กติกมีความยาวพอ ๆ กับความยาวทรานส์แอนตาร์กติกช่วงแหลมอาแดร์ถึงเทือกเขาควีนม็อด เทือกเขาทรานส์แอนตาร์กติกมีคว้ามกว้าง 100-300 กม. ทำให้กลายเป็นเส้นแบ่งะหว่างแอนตาร์กติกาตะวันออกกับแอนตาร์กติกาตะวันตก พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกตะวันออกมีอาณาเขตตั้งแต่เทือกเขานี้และฝั่งตะวันออกทั้งหมด ส่วนฝั่งตะวันตกเทือกเขานี้ติดกับทะเลรอสส์[1]ในวิกตอเรียแลนด์ตั้งแต่แหลมอาแดร์ถึงอ่าวแม็คเมอร์โด หิ้งน้ำแข็งรอสส์ในอ่าวแม็คเมอร์โดถึงธารน้ำแข็งสกอตและพื้นที่พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกตะวันตกทั้งหมด

ยอดเขาและหุบเขาแห้งแล้งบางแห่งของทรานส์แอนตาร์กติกนั้นเป็นสถานที่เพียงไม่กี่แห่งในทวีปแอนตาร์กติกาที่ไม่ได้ปกคลุมด้วยน้ำแข็ง คือพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 4,500 เมตรและหุบเขาแห้งแล้งแม็คเมอร์โดใกล้กับอ่าวแม็คเมอร์โดเป็นแห่ลงแสดงปรากฏการณ์พิเศษในแอนตาร์กติกาเพราะเป็นภูมิประเทศที่ไม่มีหิมะและน้ำแข็งเกาะตามพื้นเนื่องจากที่นี้เป็นบริเวณที่มีหยาดน้ำฟ้าน้อยมาก ๆ ยอดเขาที่สูงที่สุดของทรานส์แอนตาร์กติกคือภูเขาเคิร์กแพทริคในเทือกเขาควีนอเล็กซานดร้ามีความสูง 4,528 เมตร ยอดเขาไม่ได้ปกคลุมด้วยน้ำแข็งแต่จะมีน้ำแข็งรอบ ๆ เรียกว่านานาทาร์ค

อ้างอิง

  1. C.Michael Hogan. 2011