ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พืดน้ำแข็ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: ไฟล์:Greenland-ice sheet hg.jpg|thumb|upright=1.3|ภาพถ่ายทางอากาศของพืดน้ำแข็งบนชายฝั่...
 
แจ้งต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการหมวดหมู่}}
[[ไฟล์:Greenland-ice sheet hg.jpg|thumb|upright=1.3|ภาพถ่ายทางอากาศของพืดน้ำแข็งบนชายฝั่งตะวันออกของ[[เกาะกรีนแลนด์]]]]
[[ไฟล์:Greenland-ice sheet hg.jpg|thumb|upright=1.3|ภาพถ่ายทางอากาศของพืดน้ำแข็งบนชายฝั่งตะวันออกของ[[เกาะกรีนแลนด์]]]]
'''พืดน้ำแข็ง''' ({{lang-en|Ice sheet}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า'''ธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป''' ({{lang-en|continental glacier}})<ref>[http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?id=ice-sheet1 American Meteorological Society, Glossary of Meteorology] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120623093132/http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?id=ice-sheet1 |date=2012-06-23 }}</ref> เป็นมวลของ[[ธารน้ำแข็ง]]ที่ปกคลุมภูมิประเทศโดยรอบและมีขนาดมากกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตร<ref>{{cite web|url=http://gemini.oscs.montana.edu/~geol445/hyperglac/glossary.htm|accessdate=2006-08-22|title=Glossary of Important Terms in Glacial Geology|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20060829001754/http://gemini.oscs.montana.edu/~geol445/hyperglac/glossary.htm|archivedate=2006-08-29|df=}}</ref> ปัจจุบันพืดน้ำแข็งสามารถพบได้เพียงใน[[กรีนแลนด์]]และ[[แอนตาร์กติกา]] ช่วง[[ยุคน้ำแข็งยุคสุดท้าย]]ใน[[ยุคน้ำแข็งใหญ่สุดครั้งสุดท้าย]][[พืดน้ำแข็งลอเรนไทด์]] (Laurentide ice sheet) ได้ปกคลุมพื้นที่จำนวนมากของ[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] [[พืดน้ำแข็งไวช์เซเลียน]]ปกคลุมทางเหนือของ[[ทวีปยุโรป]]และ[[พืดน้ำแข็งปาตาโกเนีย]]ปกคลุมทางใต้ของ[[ทวีปอเมริกาใต้]]
'''พืดน้ำแข็ง''' ({{lang-en|Ice sheet}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า'''ธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป''' ({{lang-en|continental glacier}})<ref>[http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?id=ice-sheet1 American Meteorological Society, Glossary of Meteorology] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120623093132/http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?id=ice-sheet1 |date=2012-06-23 }}</ref> เป็นมวลของ[[ธารน้ำแข็ง]]ที่ปกคลุมภูมิประเทศโดยรอบและมีขนาดมากกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตร<ref>{{cite web|url=http://gemini.oscs.montana.edu/~geol445/hyperglac/glossary.htm|accessdate=2006-08-22|title=Glossary of Important Terms in Glacial Geology|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20060829001754/http://gemini.oscs.montana.edu/~geol445/hyperglac/glossary.htm|archivedate=2006-08-29|df=}}</ref> ปัจจุบันพืดน้ำแข็งสามารถพบได้เพียงใน[[กรีนแลนด์]]และ[[แอนตาร์กติกา]] ช่วง[[ยุคน้ำแข็งยุคสุดท้าย]]ใน[[ยุคน้ำแข็งใหญ่สุดครั้งสุดท้าย]][[พืดน้ำแข็งลอเรนไทด์]] (Laurentide ice sheet) ได้ปกคลุมพื้นที่จำนวนมากของ[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] [[พืดน้ำแข็งไวช์เซเลียน]]ปกคลุมทางเหนือของ[[ทวีปยุโรป]]และ[[พืดน้ำแข็งปาตาโกเนีย]]ปกคลุมทางใต้ของ[[ทวีปอเมริกาใต้]]
บรรทัด 8: บรรทัด 9:
ปัจจุบันพืดน้ำแข็งบริเวณขั่วโลกนั้นยังถือว่ามีอายุน้อยมาก พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกก่อตัวขึ้นครั้งแรกจากทุ่งน้ำแข็งขนาดเล็กในช่วงต้น[[สมันโอลิโกซีน]]จากนั้นก็เพิ่มขนาดและลดลงหลายครั้งจนถึง[[สมัยพลิโอซีน]]พืดน้ำแข็งก็คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของ[[แอนตาร์กติกา]] พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์นั้นไม่ได้ขยายตัวเลยจนถึงปลาย[[สมัยพลิโอซีน]]แต่หลังจากนั้นก็พัฒนาตัวอย่างรวดเร็วในช่วงที่ธารน้ำแข็งปกคลุมทวีป ทำให้พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์ที่เกิดแบบรวดเร็วและเฉียบผลันสามารถเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่งอกบนเกาะได้ดีกว่าพืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกที่ค่อย ๆ ก่อตัวอย่างช้า ๆ
ปัจจุบันพืดน้ำแข็งบริเวณขั่วโลกนั้นยังถือว่ามีอายุน้อยมาก พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกก่อตัวขึ้นครั้งแรกจากทุ่งน้ำแข็งขนาดเล็กในช่วงต้น[[สมันโอลิโกซีน]]จากนั้นก็เพิ่มขนาดและลดลงหลายครั้งจนถึง[[สมัยพลิโอซีน]]พืดน้ำแข็งก็คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของ[[แอนตาร์กติกา]] พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์นั้นไม่ได้ขยายตัวเลยจนถึงปลาย[[สมัยพลิโอซีน]]แต่หลังจากนั้นก็พัฒนาตัวอย่างรวดเร็วในช่วงที่ธารน้ำแข็งปกคลุมทวีป ทำให้พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์ที่เกิดแบบรวดเร็วและเฉียบผลันสามารถเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่งอกบนเกาะได้ดีกว่าพืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกที่ค่อย ๆ ก่อตัวอย่างช้า ๆ


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{โครงภูมิศาสตร์}}
{{โครงภูมิศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:04, 27 พฤษภาคม 2561

ภาพถ่ายทางอากาศของพืดน้ำแข็งบนชายฝั่งตะวันออกของเกาะกรีนแลนด์

พืดน้ำแข็ง (อังกฤษ: Ice sheet) หรือเรียกอีกอย่างว่าธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป (อังกฤษ: continental glacier)[1] เป็นมวลของธารน้ำแข็งที่ปกคลุมภูมิประเทศโดยรอบและมีขนาดมากกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตร[2] ปัจจุบันพืดน้ำแข็งสามารถพบได้เพียงในกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกา ช่วงยุคน้ำแข็งยุคสุดท้ายในยุคน้ำแข็งใหญ่สุดครั้งสุดท้ายพืดน้ำแข็งลอเรนไทด์ (Laurentide ice sheet) ได้ปกคลุมพื้นที่จำนวนมากของทวีปอเมริกาเหนือ พืดน้ำแข็งไวช์เซเลียนปกคลุมทางเหนือของทวีปยุโรปและพืดน้ำแข็งปาตาโกเนียปกคลุมทางใต้ของทวีปอเมริกาใต้

พืดน้ำแข็งนั้นมีขนาดใหญ่กว่าหิ้งน้ำแข็งและธารน้ำแข็งแบบแอลป์ มวลของน้ำแข็งที่ปกคลุมพื้นที่น้อยกว่า 50,000 เรียกว่าทุ่งน้ำแข็ง

ถึงแม้ว่าผิวหน้าของพืดน้ำแข็งจะหนาวและเย็นแต่บริเวณฐานจะอุ่นเนื่องจากความร้อนใต้พิภพ ในสถานที่ ๆ ทำให้น้ำแข็งด้านล่างละลายจากนั้นก็จะค่อย ๆ พาน้ำแข็งไหลไปเร็วกว่าบริเวณอื่นจะเรียกว่าภูมิภาคน้ำแข็งไหล (Ice stream)

ปัจจุบันพืดน้ำแข็งบริเวณขั่วโลกนั้นยังถือว่ามีอายุน้อยมาก พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกก่อตัวขึ้นครั้งแรกจากทุ่งน้ำแข็งขนาดเล็กในช่วงต้นสมันโอลิโกซีนจากนั้นก็เพิ่มขนาดและลดลงหลายครั้งจนถึงสมัยพลิโอซีนพืดน้ำแข็งก็คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของแอนตาร์กติกา พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์นั้นไม่ได้ขยายตัวเลยจนถึงปลายสมัยพลิโอซีนแต่หลังจากนั้นก็พัฒนาตัวอย่างรวดเร็วในช่วงที่ธารน้ำแข็งปกคลุมทวีป ทำให้พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์ที่เกิดแบบรวดเร็วและเฉียบผลันสามารถเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่งอกบนเกาะได้ดีกว่าพืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกที่ค่อย ๆ ก่อตัวอย่างช้า ๆ

อ้างอิง

  1. American Meteorological Society, Glossary of Meteorology เก็บถาวร 2012-06-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. "Glossary of Important Terms in Glacial Geology". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-08-29. สืบค้นเมื่อ 2006-08-22. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)