ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7632621 สร้างโดย 110.164.158.74 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ผู้นำประเทศ
{{ผู้นำประเทศ
| name = เจ้าพระยารามราฆพ <br> (หม่อมหลวง เฟื้อ พึ่งบุญ)
| name = เจ้าพระยารามราฆพ <br> (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)
| image = เจ้าพระยารามราฆพ.jpg
| image = เจ้าพระยารามราฆพ.jpg
| imagesize =
| imagesize =
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
| party =
| party =
}}
}}
'''พลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ''' ([[5 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2433]] - [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2510]]) อดีตองคมนตรี อดีต[[รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย|สมุหราชองครักษ์]] อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรี[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|เทศบาลนครกรุงเทพฯ]] และ อดีตนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]]
'''พลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ''' (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีต[[รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย|สมุหราชองครักษ์]] อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรี[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|เทศบาลนครกรุงเทพฯ]] และ อดีตนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
=== ปฐมวัย ===
=== ปฐมวัย ===
พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ เดิมชื่อว่า หม่อมหลวงเฟื้อ [[:หมวดหมู่:ราชสกุลพึ่งบุญ|พึ่งบุญ]] เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ [[5 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2433]] ตรงกับแรม 7 ค่ำ เดือน 10 ปีขาล ร.ศ.109 ที่บ้านถนนจักรเพชร จังหวัดพระนคร เป็นบุตร [[พระยาประสิทธิ์ศุภการ]] (หม่อมราชวงศ์ละม้าย พึ่งบุญ) กับ [[พระนมทัด]] (พระนมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพี่น้องร่วมมารดา คือ
พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ เดิมชื่อว่า หม่อมหลวงเฟื้อ [[:หมวดหมู่:ราชสกุลพึ่งบุญ|พึ่งบุญ]] เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 ตรงกับแรม 7 ค่ำ เดือน 10 ปีขาล ร.ศ.109 ที่บ้านถนนจักรเพชร จังหวัดพระนคร เป็นบุตร [[พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมราชวงศ์ละม้าย พึ่งบุญ)]] กับ[[พระนมทัด]] (พระนมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพี่น้องร่วมมารดา คือ
* ท้าวอินทรสุริยา
* [[ท้าวอินทรสุริยา (หม่อมหลวงเชื้อ พึ่งบุญ)]]
* ท่านเจ้าพระยารามราฆพ
* ท่านเจ้าพระยารามราฆพ
* พลตรี [[พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)]]
* พลตรี [[พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)]]


เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข และโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ([[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]) เมื่อ [[พ.ศ. 2448]] และได้ถวายตัวเข้ารับราชการในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ([[รัชกาลที่ 6]]) ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2451]] ครั้นในงานบรมราชาภิเษก เป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2453 ก็ได้มีหน้าที่เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรี ยืนหลังที่ประทับตลอดพระราชพิธี ด้วยเหตุนี้เมื่อทรงจัดตั้ง[[กองเสือป่า]] จึงพระราชทานธงประจำตัวกองเสือป่า ให้ท่าน เป็นรูปเทพยดา เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรี ขนพื้นสีแดง (ถ้าไม่มีเชื้อราชตระกูล ใช้รูปมานพ) ตลอดเวลาที่รับราชการ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ถวายงานใกล้ชิด โปรดให้เป็นหัวหน้าห้องพระบรรทม นั่งร่วมโต๊ะเสวยทั้งมื้อกลางวันและกลางคืนตลอดรัชกาล และตามเสด็จโดยลำพัง
เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข และโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ([[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]) เมื่อ พ.ศ. 2448 และได้ถวายตัวเข้ารับราชการใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร]] ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2451 ครั้นในงานบรมราชาภิเษกเป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2453 ก็ได้มีหน้าที่เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรี ยืนหลังที่ประทับตลอดพระราชพิธี ด้วยเหตุนี้เมื่อทรงจัดตั้ง[[กองเสือป่า]] จึงพระราชทานธงประจำตัวกองเสือป่า ให้ท่าน เป็นรูปเทพยดา เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรี ขนพื้นสีแดง (ถ้าไม่มีเชื้อราชตระกูล ใช้รูปมานพ) ตลอดเวลาที่รับราชการ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ถวายงานใกล้ชิด โปรดให้เป็นหัวหน้าห้องพระบรรทม นั่งร่วมโต๊ะเสวยทั้งมื้อกลางวันและกลางคืนตลอดรัชกาล และตามเสด็จโดยลำพัง


ได้รับความเจริญในราชการโดยลำดับ ดังนี้
ได้รับความเจริญในราชการโดยลำดับ ดังนี้
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
* 27 ธันวาคม พ.ศ. 2455 เป็นพระยาประสิทธิ์ศุภการ เช่นเดียวกับบิดา (อายุ 22 ปี)
* 27 ธันวาคม พ.ศ. 2455 เป็นพระยาประสิทธิ์ศุภการ เช่นเดียวกับบิดา (อายุ 22 ปี)


ต่อมาวันที่ 11 พฤศจิกายน ปี [[พ.ศ. 2464]] ขณะอายุได้ 31 ปี มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระยาประสิทธิ์ศุภการ ขึ้นเป็นเจ้าพระยารามราฆพ มีสมญาจารึกในสุพรรณบัฎว่า "เจ้าพระยารามราฆพ พัชรพัลลภมหาสวามิภักดิ์ สมัครพลวโรปนายก สุรเสวกวิศิษฏ์คุณ พึ่งบุญพงศ์บริพัตร นฤปรัตนราชสุปรีย์ ศรีรัตนไตรสรณธาดา เมตตาภิรัตมัทวสมาจาร สัตยวิธานอาชวาธยาศัย อภัยพิริยบรากรมพาหุ คชนาม" มีศักดินา 10000 ไร่ ได้รับพระบรมโองการต่อจาก[[เจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร)]] และก่อน[[เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)]] กล่าวกันว่าเจ้าพระยารามราฆพเป็นเจ้าพระยาที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์การแต่งตั้งของกรุงรัตนโกสินทร์
ต่อมาวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 ขณะอายุได้ 31 ปี มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระยาประสิทธิ์ศุภการ ขึ้นเป็นเจ้าพระยารามราฆพ มีสมญาจารึกในสุพรรณบัฎว่า "เจ้าพระยารามราฆพ พัชรพัลลภมหาสวามิภักดิ์ สมัครพลวโรปนายก สุรเสวกวิศิษฏ์คุณ พึ่งบุญพงศ์บริพัตร นฤปรัตนราชสุปรีย์ ศรีรัตนไตรสรณธาดา เมตตาภิรัตมัทวสมาจาร สัตยวิธานอาชวาธยาศัย อภัยพิริยบรากรมพาหุ คชนาม" มีศักดินา 10000 ไร่ ได้รับพระบรมโองการต่อจาก[[เจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร)]] และก่อน[[เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)]] กล่าวกันว่าเจ้าพระยารามราฆพเป็นเจ้าพระยาที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์การแต่งตั้งของกรุงรัตนโกสินทร์


=== ตำแหน่งในราชการ ===
=== ตำแหน่งในราชการ ===
บรรทัด 76: บรรทัด 76:


=== ครอบครัว ===
=== ครอบครัว ===
ด้านชีวิตครอบครัว ท่านเจ้าพระยารามราฆพ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ สมรสพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ คุณหญิงประจวบ สุขุม ต.จ. ธิดาของมหาอำมาตย์นายก [[เจ้าพระยายมราช]] และ ท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม ณ ป้อมเพ็ชร) ณ พระที่นั่งบรมพิมาน เมื่อ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2467 และสมรสกับภรรยาท่านอื่นๆ รวมมีบุตร-ธิดา 34 ท่าน ดังนี้
ด้านชีวิตครอบครัว เจ้าพระยารามราฆพได้รับพระมหากรุณาธิคุณสมรสพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงประจวบ สุขุม ต.จ. ธิดาของมหาอำมาตย์นายก [[เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)]] และท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม ณ ป้อมเพ็ชร) ณ พระที่นั่งบรมพิมาน เมื่อ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2467 และสมรสกับภรรยาท่านอื่น ๆ รวมมีบุตร-ธิดา 34 ท่าน ดังนี้
* มีบุตร-ธิดา 2 ท่าน กับคุณหญิง ประจวบ สุขุม (สมรสพระราชทาน) ดังรายนามต่อไปนี้
* มีบุตร-ธิดา 2 ท่าน กับคุณหญิง ประจวบ สุขุม (สมรสพระราชทาน) ดังรายนามต่อไปนี้
** คุณรุจิรา อมาตยกุล
** คุณรุจิรา อมาตยกุล
บรรทัด 118: บรรทัด 118:
** คุณอำพลปนัดดา
** คุณอำพลปนัดดา


ในบั้นปลายชีวิต นอกจากการรับราชการแล้ว ท่านเจ้าพระยารามราฆพ ก็ใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน ท่านมีกิจวัตรประจำวัน คือ การจดบันทึก ซึ่งทำมาตั้งแต่อยู่ในมัธยมวัย จนถึงอสัญกรรม นอกจากนี้ก็เพลิดเพลินอยู่กับการบำรุงดูแลเรือ ทั้งเรือยนต์และเรือกล อันเป็นของชอบของท่านตั้งแต่ยังรับราชการ และไปพักตากอากาศที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทุกๆปี
ในบั้นปลายชีวิต นอกจากการรับราชการแล้ว เจ้าพระยารามราฆพ ก็ใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน มีกิจวัตรประจำวันคือการจดบันทึก ซึ่งทำมาตั้งแต่อยู่ในมัธยมวัยจนถึงอสัญกรรม นอกจากนี้ก็เพลิดเพลินอยู่กับการบำรุงดูแลเรือ ทั้งเรือยนต์และเรือกล อันเป็นของชอบของท่านตั้งแต่ยังรับราชการ และไปพักตากอากาศที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทุกๆปี


พลเอก เจ้าพระยารามราฆพ ถึงอสัญกรรมด้วยโรคหัวใจ ณ ตึกธนาคารกรุงเทพ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510 สิริรวมอายุได้ 77 ปี
พลเอก เจ้าพระยารามราฆพ ถึงอสัญกรรมด้วยโรคหัวใจ ณ ตึกธนาคารกรุงเทพ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510 สิริรวมอายุได้ 77 ปี


== บ้านนรสิงห์ ==
== บ้านนรสิงห์ ==
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง[[บ้านนรสิงห์]] พระราชทานแก่พระยาประสิทธิ์ศุภการ ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2484 ท่านได้เสนอขายบ้านนี้ให้แก่รัฐบาล เนื่องจากไม่สามารถรับภาระการดูแลบำรุงรักษาได้ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2484 [[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] นายกรัฐมนตรี เห็นว่าควรซื้อบ้านนรสิงห์เพื่อทำเป็นสถานที่รับรองแขกเมือง รัฐบาลได้ให้[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]]เป็นผู้ซื้อบ้านหลังนี้ มอบให้[[สำนักนายกรัฐมนตรี]]เป็นผู้ดูแล ใช้เป็นสถานที่สำหรับรับรองแขกเมืองและย้ายสำนักนายกรัฐมนตรี จาก[[วังสวนกุหลาบ]] มาอยู่ที่นี่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง[[บ้านนรสิงห์]] พระราชทานแก่พระยาประสิทธิ์ศุภการ ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2484 ท่านได้เสนอขายบ้านนี้ให้แก่รัฐบาล เนื่องจากไม่สามารถรับภาระการดูแลบำรุงรักษาได้ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2484 จอมพล [[แปลก พิบูลสงคราม]] นายกรัฐมนตรี เห็นว่าควรซื้อบ้านนรสิงห์เพื่อทำเป็นสถานที่รับรองแขกเมือง รัฐบาลได้ให้[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]]เป็นผู้ซื้อบ้านหลังนี้ มอบให้[[สำนักนายกรัฐมนตรี]]เป็นผู้ดูแล ใช้เป็นสถานที่สำหรับรับรองแขกเมืองและย้ายสำนักนายกรัฐมนตรี จาก[[วังสวนกุหลาบ]] มาอยู่ที่นี่


บ้านนรสิงห์ เปลี่ยนชื่อเป็น "ทำเนียบสามัคคีชัย" เมื่อ พ.ศ. 2484 และต่อมาในปี พ.ศ. 2512 ได้ซื้อขายโอนกรรมสิทธิ์ จากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นของสำนักนายกรัฐมนตรี และเปลี่ยนชื่อเป็น "ทำเนียบรัฐบาล"
บ้านนรสิงห์ เปลี่ยนชื่อเป็น "ทำเนียบสามัคคีชัย" เมื่อ พ.ศ. 2484 และต่อมาในปี พ.ศ. 2512 ได้ซื้อขายโอนกรรมสิทธิ์ จากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นของสำนักนายกรัฐมนตรี และเปลี่ยนชื่อเป็น "ทำเนียบรัฐบาล"


== สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ==
== สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ==
ในวันที่ [[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2458]] มีประกาศราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการจัดตั้ง "[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]]<ref>http://www.fathailand.org/history</ref>" โดยมีพระยาประสิทธิ์ศุภการเป็นสภานายกสมาคมฯ คนแรกของวงการลูกหนังไทย และคณะสภากรรมการส่วนใหญ่ คือกรรมการคณะฟุตบอลแห่งสยาม พระยาประสิทธิ์ศุภการดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฟุตบอลถึง พ.ศ. 2462 จึงลาออกจากตำแหน่ง
ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2458 มีประกาศราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการจัดตั้ง "[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]]<ref>http://www.fathailand.org/history</ref>" โดยมีพระยาประสิทธิ์ศุภการเป็นสภานายกสมาคมฯ คนแรกของวงการลูกหนังไทย และคณะสภากรรมการส่วนใหญ่ คือกรรมการคณะฟุตบอลแห่งสยาม พระยาประสิทธิ์ศุภการดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฟุตบอลถึง พ.ศ. 2462 จึงลาออกจากตำแหน่ง


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
บรรทัด 153: บรรทัด 153:
{{นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย}}
{{นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย}}


{{เกิดปี|2433}}
{{ตายปี|2510}}
{{เรียงลำดับ|รามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)}}
{{เรียงลำดับ|รามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)}}
{{อายุขัย|2433|2510}}

[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นเจ้าพระยา|รามราฆพ]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นเจ้าพระยา]]
[[หมวดหมู่:หม่อมหลวง]]
[[หมวดหมู่:องคมนตรีในรัชกาลที่ 6]]
[[หมวดหมู่:หม่อมหลวง|ฟื้อ พึ่งบุญ]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลพึ่งบุญ]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลพึ่งบุญ]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. (ฝ่ายหน้า)]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. (ฝ่ายหน้า)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:21, 22 พฤษภาคม 2561

เจ้าพระยารามราฆพ
(หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)
ไฟล์:เจ้าพระยารามราฆพ.jpg
องคมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2455 – ?
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมุหราชองครักษ์
ดำรงตำแหน่ง
10 พฤศจิกายน 2460 – ?
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ก่อนหน้าพระยาเทพอรชุน
ถัดไปหม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร
สมุหพระราชมนเฑียร
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2490 – พ.ศ. 2510
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด5 ตุลาคม พ.ศ. 2433
เสียชีวิต21 ตุลาคม พ.ศ. 2510 (77 ปี)
ศาสนาพุทธ

พลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

ประวัติ

ปฐมวัย

พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ เดิมชื่อว่า หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 ตรงกับแรม 7 ค่ำ เดือน 10 ปีขาล ร.ศ.109 ที่บ้านถนนจักรเพชร จังหวัดพระนคร เป็นบุตร พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมราชวงศ์ละม้าย พึ่งบุญ) กับพระนมทัด (พระนมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพี่น้องร่วมมารดา คือ

เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข และโรงเรียนข้าราชการพลเรือน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) เมื่อ พ.ศ. 2448 และได้ถวายตัวเข้ารับราชการในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2451 ครั้นในงานบรมราชาภิเษกเป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2453 ก็ได้มีหน้าที่เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรี ยืนหลังที่ประทับตลอดพระราชพิธี ด้วยเหตุนี้เมื่อทรงจัดตั้งกองเสือป่า จึงพระราชทานธงประจำตัวกองเสือป่า ให้ท่าน เป็นรูปเทพยดา เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรี ขนพื้นสีแดง (ถ้าไม่มีเชื้อราชตระกูล ใช้รูปมานพ) ตลอดเวลาที่รับราชการ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ถวายงานใกล้ชิด โปรดให้เป็นหัวหน้าห้องพระบรรทม นั่งร่วมโต๊ะเสวยทั้งมื้อกลางวันและกลางคืนตลอดรัชกาล และตามเสด็จโดยลำพัง

ได้รับความเจริญในราชการโดยลำดับ ดังนี้

ยศ

  • 29 มิถุนายน พ.ศ. 2467 เป็นพลเอก (อายุ 34 ปี)
  • 4 มีนาคม พ.ศ. 2498 เป็นพลเรือเอก (อายุ 65 ปี)

บรรดาศักดิ์

  • 30 ธันวาคม พ.ศ. 2453 เป็น นายขัน หุ้มแพร (อายุ 20 ปี)
  • 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 เป็น นายจ่ายง (อายุ 21 ปี)
  • 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 เป็นเจ้าหมื่นสรรเพธภักดี (อายุ 21 ปี)
  • 27 ธันวาคม พ.ศ. 2455 เป็นพระยาประสิทธิ์ศุภการ เช่นเดียวกับบิดา (อายุ 22 ปี)

ต่อมาวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 ขณะอายุได้ 31 ปี มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระยาประสิทธิ์ศุภการ ขึ้นเป็นเจ้าพระยารามราฆพ มีสมญาจารึกในสุพรรณบัฎว่า "เจ้าพระยารามราฆพ พัชรพัลลภมหาสวามิภักดิ์ สมัครพลวโรปนายก สุรเสวกวิศิษฏ์คุณ พึ่งบุญพงศ์บริพัตร นฤปรัตนราชสุปรีย์ ศรีรัตนไตรสรณธาดา เมตตาภิรัตมัทวสมาจาร สัตยวิธานอาชวาธยาศัย อภัยพิริยบรากรมพาหุ คชนาม" มีศักดินา 10000 ไร่ ได้รับพระบรมโองการต่อจากเจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร) และก่อนเจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) กล่าวกันว่าเจ้าพระยารามราฆพเป็นเจ้าพระยาที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์การแต่งตั้งของกรุงรัตนโกสินทร์

ตำแหน่งในราชการ

หลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว เจ้าพระยารามราฆพ จึงออกไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ จนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ถึงพ.ศ. 2477 จึงเดินทางกลับประเทศไทย ได้พำนักอยู่ที่บ้านบุญญาศรัย ถนนราชดำริ 1 ปี จึงมาพำนักที่บ้านนรสิงห์ ถึงปี พ.ศ. 2484 ขายบ้านนรสิงห์ให้รัฐบาล แล้วย้ายไปพำนักที่บ้านท่าเกษม ตำบลบางขุนพรหม ถึงปี พ.ศ. 2505 จึงขายบ้านท่าเกษมให้กับธนาคารแห่งประเทศไทย (เป็นโรงพิมพ์ธนบัตร ในปัจจุบันนี้) ท้ายที่สุด ในรัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบ้านให้พำนัก ที่ถนนเจริญนคร ฝั่งธนบุรี ท่านขนานนามบ้านนี้ว่า "บ้านพระขรรค์ชัยศรี" และพำนัก ณ ที่นี้จนถึงอสัญกรรม

ด้านการเมือง ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ คนแรก เมื่อปี พ.ศ. 2480 โดยมีพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) เป็นปลัดเทศบาลนครกรุงเทพฯ คนแรก

เมื่อพ้นจากตำแหน่งนายกเทศมนตรีแล้ว เจ้าพระยารามราฆพคงเป็นข้าราชการบำนาญและเป็นที่ปรึกษาราชการในพระราชสำนักต่อมาจนถึงสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ใน พ.ศ. 2506 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ (รัชกาลที่ 9) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดระเบียบสำนักพระราชวัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยารามราฆพ รับราชการในหน้าที่ สมุหพระราชวัง และ ประธานกรรมการพระราชสำนัก นอกจากนั้นท่านยังได้สนองพระเดชพระคุณในหน้าที่ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวอีกหลายหน้าที่ เช่น เป็นสภานายกสภาลูกเสือแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและอุปนายกในคณะกรรมการอำนวยการวชิราวุธวิทยาลัย กับยังเป็นประธานกรรมการ ในบริษัทเอกชนอีกหลายบริษัท ที่สำคัญ คือ เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งธนาคารกรุงเทพ[3]

ครอบครัว

ด้านชีวิตครอบครัว เจ้าพระยารามราฆพได้รับพระมหากรุณาธิคุณสมรสพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงประจวบ สุขุม ต.จ. ธิดาของมหาอำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม ณ ป้อมเพ็ชร) ณ พระที่นั่งบรมพิมาน เมื่อ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2467 และสมรสกับภรรยาท่านอื่น ๆ รวมมีบุตร-ธิดา 34 ท่าน ดังนี้

  • มีบุตร-ธิดา 2 ท่าน กับคุณหญิง ประจวบ สุขุม (สมรสพระราชทาน) ดังรายนามต่อไปนี้
    • คุณรุจิรา อมาตยกุล
    • คุณมานน พึ่งบุญ ณ อยุธยา
  • มีบุตร-ธิดา 7 ท่าน กับคุณนงคราญ พึ่งบุญ ณ อยุธยา ดังรายนามต่อไปนี้
    • คุณสุรางค์
    • คุณโสภางค์พึงพิศ
    • คุณจิตอนงค์
    • คุณบุษบงรำไพ
    • คุณอนงค์ในวัฒนา
    • คุณปิยานงราม
    • คุณความจำนงค์
  • มีบุตร-ธิดา 9 ท่าน กับคุณบุญเรือน พึ่งบุญ ณ อยุธยา ดังรายนามต่อไปนี้
    • คุณพัฒนา
    • คุณบุษบานงเยาว์
    • คุณเชาวน์ชาญบุรุษ
    • คุณพิสุทธิอาภรณ์
    • คุณบทจรพายัพทิศ
    • คุณจักร์กฤษณ์กุมารา
    • คุณวนิดาบุญญาวาศ
    • คุณพรหมาศนารายณ์
    • คุณเจ้าสายสุดที่รัก
  • มีบุตร-ธิดา 7 ท่าน กับคุณพิศวาส พึ่งบุญ ณ อยุธยา ดังรายนามต่อไปนี้
    • คุณศิริโสภา
    • คุณดวงสุดาผ่องศรี
    • คุณกุมารีหริลักษณ์
    • คุณทรงจักรวรภัณฑ์
    • คุณรามจันทร์วรพงษ์
    • คุณภุชงค์บรรจถรณ์
    • คุณจันทรรัศมี
  • มีบุตร-ธิดา 6 ท่าน กับคุณถนอม พึ่งบุญ ณ อยุธยา ดังรายนามต่อไปนี้
    • คุณระฆุวงศ์
    • คุณนีละพงษ์อำไพ
    • คุณไกรกรีกูร
    • คุณประยูรกาฬวรรณ
    • คุณนวลจันทร์ธิดาราม
    • คุณโสมยามส่องฟ้า
  • มีบุตร-ธิดา 3 ท่าน กับคุณพยุงวดี พึ่งบุญ ณ อยุธยา ดังรายนามต่อไปนี้
    • คุณสู่นคเรศ
    • คุณทักษิณีเขตจรดล
    • คุณอำพลปนัดดา

ในบั้นปลายชีวิต นอกจากการรับราชการแล้ว เจ้าพระยารามราฆพ ก็ใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน มีกิจวัตรประจำวันคือการจดบันทึก ซึ่งทำมาตั้งแต่อยู่ในมัธยมวัยจนถึงอสัญกรรม นอกจากนี้ก็เพลิดเพลินอยู่กับการบำรุงดูแลเรือ ทั้งเรือยนต์และเรือกล อันเป็นของชอบของท่านตั้งแต่ยังรับราชการ และไปพักตากอากาศที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทุกๆปี

พลเอก เจ้าพระยารามราฆพ ถึงอสัญกรรมด้วยโรคหัวใจ ณ ตึกธนาคารกรุงเทพ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510 สิริรวมอายุได้ 77 ปี

บ้านนรสิงห์

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างบ้านนรสิงห์ พระราชทานแก่พระยาประสิทธิ์ศุภการ ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2484 ท่านได้เสนอขายบ้านนี้ให้แก่รัฐบาล เนื่องจากไม่สามารถรับภาระการดูแลบำรุงรักษาได้ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2484 จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เห็นว่าควรซื้อบ้านนรสิงห์เพื่อทำเป็นสถานที่รับรองแขกเมือง รัฐบาลได้ให้สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นผู้ซื้อบ้านหลังนี้ มอบให้สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ดูแล ใช้เป็นสถานที่สำหรับรับรองแขกเมืองและย้ายสำนักนายกรัฐมนตรี จากวังสวนกุหลาบ มาอยู่ที่นี่

บ้านนรสิงห์ เปลี่ยนชื่อเป็น "ทำเนียบสามัคคีชัย" เมื่อ พ.ศ. 2484 และต่อมาในปี พ.ศ. 2512 ได้ซื้อขายโอนกรรมสิทธิ์ จากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นของสำนักนายกรัฐมนตรี และเปลี่ยนชื่อเป็น "ทำเนียบรัฐบาล"

สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม

ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2458 มีประกาศราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการจัดตั้ง "สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์[4]" โดยมีพระยาประสิทธิ์ศุภการเป็นสภานายกสมาคมฯ คนแรกของวงการลูกหนังไทย และคณะสภากรรมการส่วนใหญ่ คือกรรมการคณะฟุตบอลแห่งสยาม พระยาประสิทธิ์ศุภการดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฟุตบอลถึง พ.ศ. 2462 จึงลาออกจากตำแหน่ง

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. http://www.finearts.go.th/performing/ประวัติและบทบาทหน้าที่.html
  2. https://www.gsb.or.th/about-us/bank-museum/ววฒนาการออมสน/ความเปนมา/ประวตธนาคาร.aspx
  3. digi.library.tu.ac.th/thesis/ec/0815/15ภาคผนวกก.pdf
  4. http://www.fathailand.org/history
  5. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา, เล่ม ๓๔, ตอน ๐ ง, ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๐, หน้า ๓๓๒๓
ก่อนหน้า เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ถัดไป
- นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม
(พ.ศ. 2458-2462)
หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์