ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารสนเทศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ระวังสับสนกับ ระบบสารสนเทศ หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ (information) [1] เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดำเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลาย ตั้งแต่การใช้คำว่าสารสนเทศในชีวิตประจำวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของสารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของการสื่อสาร เงื่อนไข การควบคุม ข้อมูล รูปแบบ คำสั่งปฏิบัติการ ความรู้ ความหมาย สื่อความคิด การรับรู้ และการแทนความหมาย ปัจจุบันผู้คนพูดเกี่ยวกั
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รีไรต์}}
{{รีไรต์}}
{{ระวังสับสน|ระบบสารสนเทศ|เทคโนโลยีสารสนเทศ}}
{{ระวังสับสน|ระบบสารสนเทศ|เทคโนโลยีสารสนเทศ}}
ไม่รุ้
'''สารสนเทศ''' (information) <ref>ในความหมายของคำว่า "information" ตาม[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ราชบัณฑิตฯบัญญัติ] ได้กำหนดคำในภาษาไทยไว้สามคำคือ สารสนเทศ สนเทศ และ สารนิเทศ</ref> เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดำเนินการ และการเข้าประเภท[[ข้อมูล]]โดยการรวม[[ความรู้]]เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลาย ตั้งแต่การใช้คำว่าสารสนเทศในชีวิตประจำวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของสารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของ[[การสื่อสาร]] [[เงื่อนไข]] [[การควบคุม]] [[ข้อมูล]] [[รูปแบบ]] [[คำสั่งปฏิบัติการ]] [[ความรู้]] [[ความหมาย]] [[สื่อความคิด]] [[การรับรู้]] และ[[การแทนความหมาย]]

ปัจจุบันผู้คนพูดเกี่ยวกับยุคสารสนเทศว่าเป็นยุคที่นำไปสู่ยุคแห่งองค์ปัญญา นำไปสู่สังคมอุดมปัญญา หรือสังคมแห่งสารสนเทศ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ แม้ว่าเมื่อพูดถึงสารสนเทศ เป็นคำที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สองสาขา คือ [[วิทยาการสารสนเทศ]] และ [[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] ซึ่งคำว่า "สารสนเทศ" ก็ถูกใช้บ่อยในความหมายที่หลากหลายและกว้างขวางออกไป และมีการนำไปใช้ในส่วนของ [[เทคโนโลยีสารสนเทศ]] และ [[การประมวลผลสารสนเทศ]]

สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกำหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กำหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทำกับข้อมูลว่าจะกระทำได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำลายโดยไม่ได้ตั้งใจ
การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกำหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกันอย่างมีระบบ ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนเพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล

== สารสนเทศในความหมายของข้อความ ==
สารสนเทศสามารถหมายถึง[[คุณภาพ]]ของ[[ข้อความ]]จากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาด ปริมาณและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลที่มี[[ความถูกต้อง]]และ[[ความแม่นยำ]]หรือไม่มีก็ได้ ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้ง[[ข้อเท็จจริง]]หรือ[[ข้อโกหก]]หรือเป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคนซึ่งทำให้เกิดการสื่อสารของข้อความและเข้าใจในข้อความเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับ [[ความหมาย]] [[ความรู้]] [[คำสั่ง]] [[การสื่อสาร]] [[การแสดงออก]] และ[[การกระตุ้นภายใน]]
การส่งข้อความที่มีลักษณะเป็นสารสนเทศ ในขณะเดียวกันการรบกวนการสื่อสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเช่นเดียวกัน

ถึงแม้ว่าคำว่า "สารสนเทศ" และ "ข้อมูล" มีการใช้สลับกันอยู่บ้าง แต่สองคำนี้มีข้อแตกต่างที่เด่นชัดคือ ข้อมูลเป็นกลุ่มของข้อความที่ไม่ได้จัดการรูปแบบ และไม่สามารถนำมาใช้งานได้จนกว่าจะมีการจัดระเบียบและดึงออกมาใช้ในรูปแบบสารสนเทศ
การแสดงผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีในการแสดงผลลัพธ์มีมาก สามารถแสดงเป็นตัวหนังสือ เป็นรูปภาพหรือคำพูด ตลอดจนพิมพ์ออกมาที่กระดาษ การแสดงผลลัพธ์มีทั้งที่แสดงเป็นภาพ เป็นเสียง เป็นวีดิทัศน์ เป็นต้น
และสามารถเก็บรักษาได้ยาวนาน

== สารสนเทศตามหลักนิติศาสตร์ ==
=== ข้อมูลข่าวสาร ===

คำว่า "information" ในทางนิติศาสตร์ไทยใช้ว่า "ข้อมูลข่าวสาร" ซึ่ง[http://www.krisdika.go.th/lawHeadPDF.jsp?formatFile=pdf&hID=0 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540] นิยามว่า "มาตรา ๔...'ข้อมูลข่าวสาร' หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใด ๆ ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่าน
วิธีการใด ๆ และไม่ว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือวิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้"

=== ข้อมูลข่าวสารของราชการ ===
{{โครงส่วน}}

== สารสนเทศแข็ง-สารสนเทศอ่อน ==
{{อ้างอิง}}

สารสนเทศแข็ง คือสิ่งที่เชื่อถือได้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์สำหรับการตัดสินใจและการวางแผน หรือการทำงานได้
สารสนเทศอ่อน มีคุณสมบัติตรงข้ามกับสารสนเทศแข็ง คือ เชื่อถือได้น้อย ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ประโยชน์ คือ สามารถสร้างความมั่นใจและการวางแผน ตัวอย่างเช่น การที่เราได้รับข้อมูลหรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัวมาอาจจะเป็นสิ่งที่ไม่จริงหรือจริงก็ได้ สิ่งที่ได้กล่าวไปข้างต้นคือ สารสนเทศอ่อน แต่สารสนเทศแข็ง คือ ข้อมูลนั้นจะต้องถูกตรวจสอบ หรือ ลงมือทำก่อนเป็นการพิสูจน์หลักฐานก่อนแต่ต้องเป็นความจริงหรือเท็จก็แจเป็นไปได้
ข้อดีสารสนเทศอ่อน
คือ สร้างความอยากรู้อยากลองเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาเพราะอาจจะรับข้อมูลในสิ่งที่ผิด ๆ แต่ถ้าเรามีข้อมูลควรที่จะคิดหรือตรวจสอบให้ดีเสียก่อนจึงสร้างสามารถนำมาปฏิบัติหรือวางแผนในอนาคตได้
ข้อดีของสารสนเทศแข็ง
คือ เป็นข้อมูลที่ได้รับการตรวจได้มาว่าถูกต้องหรือเท็จเราก็สามารถได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือผิดได้
ข้อเสียสารสนเทศอ่อน
คือ สารสนเทศอ่อน มีคุณสมบัติตรงข้ามกับสารสนเทศแข็ง คือ เชื่อถือได้น้อย ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ตัวอย่างสารสนเทศอ่อน คือ บริเวณความกดอากาศสูงกำลังค่อนข้างแรงจากประเทศจีนยังคงแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทย และจะแผ่เสริมลงมาอย่างต่อเนื่องจนถึงวันที่ 3 ธันวาคม 2556 ทำให้โดยอุณหภูมิจะลดลงอีก 4-6 องศาเซลเซียส กับมีลมแรง
ตัวอย่างสารสนเทศแข็ง คือ เราต้องรอเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นจริง ๆ ก่อนเราสามารถบ่งบอกได้เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นจริงหรือไม่หิวข้าว

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== ดูเพิ่ม ==
* [[ข้อมูล]]
* [[วิทยาการสารสนเทศ]]
* [[วิทยาการคอมพิวเตอร์]]
* [[เทคโนโลยีสารสนเทศ]]
* [[การประมวลผลสารสนเทศ]]

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.sakolraj.ac.th/media/Part2%20Information.htm ความรู้เรื่อง ข้อมูล และ สารสนเทศ] เว็บโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล


[[หมวดหมู่:สารสนเทศ| ]]
[[หมวดหมู่:สารสนเทศ| ]]
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:33, 17 พฤษภาคม 2561

ไม่รุ้