ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
chembox
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
อ้างอิง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
พลาสติกเพทนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่มีเนื้อใส (A-PET) และกลุ่มที่เป็นผลึกสีขาว (C-PET) เพทมีคุณสมบัติที่สามารถทำเป็นพลาสติกที่มีลักษณะกึ่งแข็งไปจนถึงเป็นของแข็งได้โดยการปรับความหนา และมีน้ำหนักเบา กันก๊าซและแอลกอฮอล์ได้ดี
พลาสติกเพทนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่มีเนื้อใส (A-PET) และกลุ่มที่เป็นผลึกสีขาว (C-PET) เพทมีคุณสมบัติที่สามารถทำเป็นพลาสติกที่มีลักษณะกึ่งแข็งไปจนถึงเป็นของแข็งได้โดยการปรับความหนา และมีน้ำหนักเบา กันก๊าซและแอลกอฮอล์ได้ดี


== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:พอลิเมอร์]]
[[หมวดหมู่:พอลิเมอร์]]
[[หมวดหมู่:สารเคมีในบ้าน]]
[[หมวดหมู่:สารเคมีในบ้าน]]
[[หมวดหมู่:พลาสติก]]
[[หมวดหมู่:พลาสติก]]
{{โครงเคมี}}พอลิเอทธิลีนเทเรฟธาเลท
{{โครงเคมี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:10, 16 พฤษภาคม 2561

พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต
PET polymer chain
A short section of a PET polymer chain
ชื่อ
IUPAC name
Poly(ethyl benzene-1,4-dicarboxylate)
เลขทะเบียน
ตัวย่อ PET, PETE
เคมสไปเดอร์
  • none
ECHA InfoCard 100.121.858 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
คุณสมบัติ
(C10H8O4)n[1]
มวลโมเลกุล variable
ความหนาแน่น 1.38 g/cm3 (20 °C),[2] amorphous: 1.370 g/cm3,[1] single crystal: 1.455 g/cm3[1]
จุดหลอมเหลว > 250 °C,[2] 260 °C[1]
จุดเดือด > 350 °C (decomposes)
practically insoluble[2]
log P 0.94540[3]
การนำความร้อน 0.15[4] to 0.24 W m−1 K−1[1]
1.57–1.58,[4] 1.5750[1]
อุณหเคมี
1.0 kJ/(kg·K)[1]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
Monomersที่เกี่ยวข้อง
Terephthalic acid
Ethylene glycol
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (อังกฤษ: Polyethylene Terephthalate) หรือที่เรียกกันโดยย่อว่า “เพท” (PET) เป็นพลาสติกเทอร์โมพลาสติก (หลอมที่อุณหภูมิสูงและแข็งตัวเมื่อเย็น) ที่ผลิตขึ้นได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างเอทิลีนไกลคอลกับไดเมทิลเทเรฟทาเลต หรือระหว่างเอทิลีนไกลคอลกับกรดเทเรฟทาลิก แต่ในปัจจุบันนิยมใช้ไดเมทิลเทเรฟทาเลต ในการทดลองกับสัตว์พบว่าเป็นสารก่อมะเร็ง ก่อการกลายพันธุ์ และเป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ นอกจากนี้ ยังมีการใช้ สารเร่งปฏิกิริยาเคมีเช่น แอนติโมนีไตรออกไซด์ หรือแอนติโมนีไตรแอซีเตต

พลาสติกเพทนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่มีเนื้อใส (A-PET) และกลุ่มที่เป็นผลึกสีขาว (C-PET) เพทมีคุณสมบัติที่สามารถทำเป็นพลาสติกที่มีลักษณะกึ่งแข็งไปจนถึงเป็นของแข็งได้โดยการปรับความหนา และมีน้ำหนักเบา กันก๊าซและแอลกอฮอล์ได้ดี

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 van der Vegt, A. K.; Govaert, L. E. (2005). Polymeren, van keten tot kunstof. VSSD. ISBN 9071301486.
  2. 2.0 2.1 2.2 Record of Polyethylenterephthalat in the GESTIS Substance Database of the Institute for Occupational Safety and Health, accessed on 7 November 2007.
  3. "poly(ethylene terephthalate) macromolecule_msds".
  4. 4.0 4.1 Speight, J. G.; Lange, Norbert Adolph (2005). McGraw-Hill (บ.ก.). Lange's Handbook of Chemistry (16th ed.). pp. 2807–2758. ISBN 0-07-143220-5.