ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุกกาบาต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่เนื้อหาด้วย "หมวดหมู่:สะเก็ดดาว"
GinGlaep (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7573396 สร้างโดย 116.58.224.162 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:willamette meteorite.jpg|thumb|300px|ภาพอุกกาบาตที่ถูกพบใน[[สหรัฐอเมริกา]]]]
'''อุกกาบาต''' คือ วัตถุในอวกาศ ที่ผ่านชั้นบรรยากาศลงมาสู่โลก ตอนอยู่ในอวกาศจะเรียกว่า สะเก็ดดาวตก พอเข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลก จะเรียกว่า ดาวตก เราสามารถพบหรือเจออุกกาบาตได้บนดาวเคราะห์ดวงอื่น เช่น ดาวอังคาร เป็นต้น อุกกาบาตเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงประมาณ 40-70 กิโลเมตร/วินาที และเกิดการ compression กับอากาศในชั้นบรรยากาศโลก ทำให้อากาศรอบๆอุกกาบาตมีความดันสูงขึ้นจึงเกิดความร้อนสูงจนลุกไหม้ สะเก็ดอุกกาบาตเล็กจะถูกเผาไหม้จนหมดแต่สำหรับก้อนที่มีขนาดใหญ่นั้นจะไม่ถูกเผาไหม้จนหมดทำให้ตกมายันบนพื้นโลก และเกิดหลุมอุกกาบาต

[[ไฟล์:JaH 026 type L3.1 xpolar.jpg|thumb|ชนิดของอุกกาบาต]]

ชนิดของอุกกาบาต มีดังนี้
# C-type อุกกาบาตคาร์บอนมีสีคล้ำ มีองค์ประกอบเป็นคาร์บอน
# S-type อุกกาบาตหิน มีองค์ประกอบเป็นซิลิกา
# M-type อุกกาบาตโลหะ มีองค์ประกอบเป็นเหล็กและนิเกิล

นอกจากอุกกาบาตจะเกิดขึ้นจากสะเก็ดดาวเคราะห์น้อยแล้ว ยังมีอุกกาบาตบนพื้นโลกที่มาจากดวงจันทร์และดาวอังคาร ซึ่งในปี พ.ศ. 2539 ได้มีการค้นพบอุกกาบาต ALH84001 ซึ่งเป็นสะเก็ดของดาวอังคารที่ตกลงบนน้ำแข็งในทวีปแอนตาร์กติก ใน 65 ล้านปีที่ผ่านมา อุกกาบาตขนาดใหญ่พุ่งชนโลกที่ ซิคซูลูบ คาบสมุทรยูคาทาน ประเทศเม็กซิโก ทำให้ไดโนเสาร์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ สูญพันธุ์เป็นจำนวนมาก

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Meteorite}}
* [http://solarsystem.nasa.gov/planets/profile.cfm?Object=Meteors Meteoroids Page] at [http://solarsystem.nasa.gov NASA's Solar System exploration]
* [http://www.meteorite.com/news/index.htm Current meteorite news articles]
* [http://impact.scaredycatfilms.com/ Impact Meteor Crater Viewer] Google Maps Page with Locations of Meteor Craters around the world
* [http://www.psrd.hawaii.edu/ ''Planetary Science Research Discoveries:'' meteorite articles and photographs]
* [http://imca.cc/old_site/metstruck.html Chronological listing of meteorites that have struck humans, animals and manmade objects]
* [http://www.astrobio.net/news/article966.html Interview with Guy Consolmagno] at ''Astrobiology Magazine'' (May 12, 2004). Vatican astronomer Dr. [[Guy Consolmagno]] discussed his research as curator of one of the world's largest meteorite collections
* [http://www.bimsociety.org The British and Irish Meteorite Society]
* [http://www.lpi.usra.edu/books/MESSII/9002.pdf Types of extraterrestrial material available for study]
* [http://www.jensenmeteorites.com/largestmeteorites.htm Largest meteorites]
* [http://www.meteorite-times.com/ ''Meteorite Times,'' news and information about meteorite collecting]
* [http://www.nhm.ac.uk/research-curation/projects/metcat/ The Natural History Museum's meteorite catalogue database]
* [http://www.meteoriticalsociety.org/ Meteoritical Society]
* [http://www.unb.ca/passc/ImpactDatabase/ Earth Impact Database]
* [http://www.narit.or.th/files/astronomy_media/อุกกาบาต.pdf อุกกาบาตผู้มาเยือนจากนอกโลก] จาก[[สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)]] {{th}}
* [http://www.wannaphong.com/2013/02/Meteorite.html อุกกาบาตคืออะไร] {{th}}

[[หมวดหมู่:สะเก็ดดาว]]
[[หมวดหมู่:สะเก็ดดาว]]
{{โครงดาราศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:08, 1 พฤษภาคม 2561

ภาพอุกกาบาตที่ถูกพบในสหรัฐอเมริกา

อุกกาบาต คือ วัตถุในอวกาศ ที่ผ่านชั้นบรรยากาศลงมาสู่โลก ตอนอยู่ในอวกาศจะเรียกว่า สะเก็ดดาวตก พอเข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลก จะเรียกว่า ดาวตก เราสามารถพบหรือเจออุกกาบาตได้บนดาวเคราะห์ดวงอื่น เช่น ดาวอังคาร เป็นต้น อุกกาบาตเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงประมาณ 40-70 กิโลเมตร/วินาที และเกิดการ compression กับอากาศในชั้นบรรยากาศโลก ทำให้อากาศรอบๆอุกกาบาตมีความดันสูงขึ้นจึงเกิดความร้อนสูงจนลุกไหม้ สะเก็ดอุกกาบาตเล็กจะถูกเผาไหม้จนหมดแต่สำหรับก้อนที่มีขนาดใหญ่นั้นจะไม่ถูกเผาไหม้จนหมดทำให้ตกมายันบนพื้นโลก และเกิดหลุมอุกกาบาต

ชนิดของอุกกาบาต

ชนิดของอุกกาบาต มีดังนี้

  1. C-type อุกกาบาตคาร์บอนมีสีคล้ำ มีองค์ประกอบเป็นคาร์บอน
  2. S-type อุกกาบาตหิน มีองค์ประกอบเป็นซิลิกา
  3. M-type อุกกาบาตโลหะ มีองค์ประกอบเป็นเหล็กและนิเกิล

นอกจากอุกกาบาตจะเกิดขึ้นจากสะเก็ดดาวเคราะห์น้อยแล้ว ยังมีอุกกาบาตบนพื้นโลกที่มาจากดวงจันทร์และดาวอังคาร ซึ่งในปี พ.ศ. 2539 ได้มีการค้นพบอุกกาบาต ALH84001 ซึ่งเป็นสะเก็ดของดาวอังคารที่ตกลงบนน้ำแข็งในทวีปแอนตาร์กติก ใน 65 ล้านปีที่ผ่านมา อุกกาบาตขนาดใหญ่พุ่งชนโลกที่ ซิคซูลูบ คาบสมุทรยูคาทาน ประเทศเม็กซิโก ทำให้ไดโนเสาร์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ สูญพันธุ์เป็นจำนวนมาก

แหล่งข้อมูลอื่น