ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานผ่านฟ้าลีลาศ"

พิกัด: 13°45′21″N 100°30′21″E / 13.755877°N 100.505955°E / 13.755877; 100.505955
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25: บรรทัด 25:


สะพานผ่านฟ้าลีลาศสร้างในปีใดไม่ปรากฏหลักฐาน แต่สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างพร้อมกับถนน เดิมเป็นสะพานโครงเหล็ก ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานใหม่ให้มีลักษณะใหม่และงดงามขึ้น และพระราชทานนามว่าสะพานผ่านฟ้าลีลาศ แม้ในสมัยต่อมาจะมีการปรับปรุงขยายสะพานผ่านฟ้าลีลาศอีกหลายครั้ง เพื่อรองรับกับจำนวนยวดยานพาหนะที่สัญจรผ่านไปมา แต่ก็ยังรักษาลักษณะศิลปกรรมเดิมไว้ให้มากที่สุด สะพานผ่านฟ้าลีลาศเป็นสะพานที่สวยงาม ปลายสะพานทั้ง 2 ฝั่งมีเสาหินอ่อนประดับด้วยเครื่องสำริดและมีลวดลายสลักที่เสาหินอ่อน มีลักษณะงดงามมาก
สะพานผ่านฟ้าลีลาศสร้างในปีใดไม่ปรากฏหลักฐาน แต่สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างพร้อมกับถนน เดิมเป็นสะพานโครงเหล็ก ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานใหม่ให้มีลักษณะใหม่และงดงามขึ้น และพระราชทานนามว่าสะพานผ่านฟ้าลีลาศ แม้ในสมัยต่อมาจะมีการปรับปรุงขยายสะพานผ่านฟ้าลีลาศอีกหลายครั้ง เพื่อรองรับกับจำนวนยวดยานพาหนะที่สัญจรผ่านไปมา แต่ก็ยังรักษาลักษณะศิลปกรรมเดิมไว้ให้มากที่สุด สะพานผ่านฟ้าลีลาศเป็นสะพานที่สวยงาม ปลายสะพานทั้ง 2 ฝั่งมีเสาหินอ่อนประดับด้วยเครื่องสำริดและมีลวดลายสลักที่เสาหินอ่อน มีลักษณะงดงามมาก

เดิมบริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศยังเคยเป็นที่ทำการสอนของ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ในปี พ.ศ. 2477 ถึง 2479 บริเวณตึกโรงเรียนกฎหมายเดิม<ref>ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ปรีดีกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง</reF>


==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:14, 23 เมษายน 2561

ทางแยก ผ่านฟ้าลีลาศ
แผนที่
ชื่ออักษรไทยผ่านฟ้าลีลาศ
ชื่ออักษรโรมันPhan Fa Lilat
รหัสทางแยกN004
ที่ตั้งแขวงบ้านพานถม, แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร; แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ทิศทางการจราจร
ถนนราชดำเนินนอก
» แยก จปร.
ถนนนครสวรรค์
» แยกจักรพรรดิพงษ์
ถนนหลานหลวง
» แยกหลานหลวง
ถนนดำรงรักษ์
» สะพานมหาดไทยอุทิศ
ถนนราชดำเนินกลาง
» สะพานผ่านฟ้าลีลาศ, แยกป้อมมหากาฬ
ถนนปรินายก
» วัดปรินายกวรวิหาร

สะพานผ่านฟ้าลีลาศ เป็นสะพานข้ามคลองรอบกรุง ตอนที่เรียกว่าคลองบางลำพู เชื่อมถนนราชดำเนินกลางและถนนราชดำเนินนอก บริเวณใกล้กับป้อมมหากาฬ ในพื้นที่เขตพระนครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร

สะพานผ่านฟ้าลีลาศสร้างในปีใดไม่ปรากฏหลักฐาน แต่สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างพร้อมกับถนน เดิมเป็นสะพานโครงเหล็ก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานใหม่ให้มีลักษณะใหม่และงดงามขึ้น และพระราชทานนามว่าสะพานผ่านฟ้าลีลาศ แม้ในสมัยต่อมาจะมีการปรับปรุงขยายสะพานผ่านฟ้าลีลาศอีกหลายครั้ง เพื่อรองรับกับจำนวนยวดยานพาหนะที่สัญจรผ่านไปมา แต่ก็ยังรักษาลักษณะศิลปกรรมเดิมไว้ให้มากที่สุด สะพานผ่านฟ้าลีลาศเป็นสะพานที่สวยงาม ปลายสะพานทั้ง 2 ฝั่งมีเสาหินอ่อนประดับด้วยเครื่องสำริดและมีลวดลายสลักที่เสาหินอ่อน มีลักษณะงดงามมาก

เดิมบริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศยังเคยเป็นที่ทำการสอนของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2477 ถึง 2479 บริเวณตึกโรงเรียนกฎหมายเดิม[1]

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

13°45′21″N 100°30′21″E / 13.755877°N 100.505955°E / 13.755877; 100.505955

  1. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ปรีดีกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง