ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะโดเมงสอ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 39: บรรทัด 39:
{{อายุขัย|2305|2351}}
{{อายุขัย|2305|2351}}


[[หมวดหมู่:ราชวงศ์คองบอง]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์โกนบอง]]
[[หมวดหมู่:นายพลชาวพม่า]]
[[หมวดหมู่:นายพลชาวพม่า]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:26, 21 เมษายน 2561

ตะโดเมงสอ
Thado Minsaw
သတိုးမင်းစော
พระรูปของพระองค์ ณ วัดพระมหามัยมุนี, อมรปุระ
พระมหาอุปราช
พระมหาอุปราช แห่ง ชเวดอง, ดาบายิน
ครองราชย์13 กรกฎาคม ค.ศ. 1783 – 9 เมษายน ค.ศ. 1808[1]
ถัดไปพระเจ้าจักกายแมง
ประสูติ15 มิถุนายน ค.ศ. 1762(1762-06-15)
ชเวโบ
สวรรคต9 เมษายน ค.ศ. 1808(1808-04-09) (45 ปี)
อมรปุระ
คู่อภิเษกมินคเย
พระราชบุตร32 พระโอรส, 26 พระธิดา รวมถึง
พระเจ้าจักกายแมง
พระเจ้าแสรกแมง
พระนามเต็ม
ศรีมหาธัมมาวิชญาสิหสุระ (သီရိမဟာဓမ္မဝိဇယသီဟသူရ)
ราชวงศ์คองบอง
พระราชบิดาพระเจ้าปดุง
พระราชมารดาเมลุนธู

ตะโดเมงสอ (พม่า: သတိုးမင်းစော [ðədó mɪ́ɴsɔ́]; 15 มิถุนายน 1762 – 9 เมษายน 1808) พระมหาอุปราชแห่งพม่าจาก ค.ศ. 1783 ถึง 1808 ระหว่างรัชสมัย พระเจ้าปดุง ผู้เป็นพระบิดารวมถึงเป็นพระราชบิดาของกษัตริย์ราชวงศ์คองบองถึง 2 พระองค์คือ พระเจ้าจักกายแมง และ พระเจ้าแสรกแมง เดิมรับราชการเป็นพระมหาอุปราชแห่งชเวดองและดาบายิน ตะโดเมงสอเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในการพิชิตอาระกัน ในปี ค.ศ. 1784-1785 และอัญเชิญพระมหามัยมุนีจากมเยาะอูไปยังอมรปุระ[2] พระองค์ยังประสบความสำเร็จในการป้องกันตะนาวศรีและบริเวณชายฝั่งจากสงครามกับสยามในปี ค.ศ. 1792 และมีการฟื้นฟูนาฏศิลป์พม่าในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยมีการนำกลุ่มศิลปินวัยหนุ่มสาวเข้ามาฝึกฝน

ตะโดเมงสอทิวงคตเมื่อพระชนม์มายุ 45 พรรษา พระราชโอรสของพระองค์หรือเจ้าชายแห่งสะกายจึงได้เป็นรัชทายาทสืบแทนซึ่งกษัตริย์ราชวงศ์คองบองทุกพระองค์หลังจากรัชสมัยของพระเจ้าปดุงล้วนสืบเชื้อสายมาจากพระองค์ทั้งสิ้น

อ้างอิง

  1. Buyers
  2. Myint-U 2006: 109–110

บรรณานุกรม

  • Brandon, James R (1967). Theatre in Southeast Asia. Harvard College. ISBN 0-674-87587-7.
  • Buyers, Christopher. "The Konbaung Dynasty Genealogy". royalark.net. สืบค้นเมื่อ 26 September 2009.
  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.
  • Phayre, Lt. Gen. Sir Arthur P. (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta.
  • Myint-U, Thant (2001). The Making of Modern Burma. Cambridge University Press. ISBN 9780521799140.
  • Myint-U, Thant (2006). The River of Lost Footsteps—Histories of Burma. Farrar, Straus and Giroux. ISBN 978-0-374-16342-6.