ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระทุรคา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 171.96.132.105 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Thomson Walt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''พระแม่ทุรคา''' ({{lang-sa|ทุรฺคา}}) หรือ '''พระศรีมหาทุรคาเทวี''' เป็นปางหนึ่งของ [[พระอุมาเทวี]] มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ไม่ว่าทั้งเทพเจ้า มนุษย์ อสูร แม้แต่[[พระศิวะ]] [[พระพรหม]] หรือ[[พระวิษณุ]] ก็ไม่อาจสังหารมหิษาสูรได้ <ref>[http://www.zeebox.net/catalog/product_info.php?products_id=238&language=th&osCsid=7bfbb6f4741975c135b6afa5514a27d2 พระแม่ทุรคาปราบอสูรควาย (มหิษาสุรมรรทินี)]</ref> มีเพียงหญิงสาวที่ไม่ได้เกิดอย่างธรรมชาติ และเป็นหนึ่งในอำนาจทั้งหมดของจักรวาล ซึ่งก็คือพระแม่ทุรคา ซึ่งเกิดจากอำนาจทั้งปวงของเหล่าเทพเจ้า
'''พระแม่ทุรคา''' ({{lang-sa|ทุรฺคา}}) หรือ '''พระศรีมหาทุรคาเทวี''' เป็นปางหนึ่งของ [[พระอุมาเทวี]] มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ไม่ว่าทั้งเทพเจ้า มนุษย์ อสูร แม้แต่[[พระศิวะ]] [[พระพรหม]] หรือ[[พระวิษณุ]] ก็ไม่อาจสังหารมหิษาสูรได้ <ref>[http://www.zeebox.net/catalog/product_info.php?products_id=238&language=th&osCsid=7bfbb6f4741975c135b6afa5514a27d2 พระแม่ทุรคาปราบอสูรควาย (มหิษาสุรมรรทินี)]</ref> มีเพียงหญิงสาวที่ไม่ได้เกิดอย่างธรรมชาติ และเป็นหนึ่งในอำนาจทั้งหมดของจักรวาล ซึ่งก็คือพระแม่ทุรคา ซึ่งเกิดจากอำนาจทั้งปวงของเหล่าเทพเจ้า


ในช่วงประมาณเดือน[[กันยายน]]-[[ตุลาคม]]ของทุกปี จะมีการบูชาพระแม่ทุรคาเรียกว่า [[เทศกาลนวราตรี| เทศกาลนวราตรีดุเซร่า]] มีการฉลองถึง ๙ วัน ๙ คืนด้วยกัน ใน[[ประเทศไทย]] งานฉลองนี้จะมีขึ้นประจำทุกปีที่[[วัดพระศรีมหาอุมาเทวี]] หรือ วัดแขกสีลม [[เขตบางรัก]] โดยมีการแห่ไปตามท้องถนนในเวลากลางคืนด้วยดอก[[ดาวเรือง]]และสิ่งบูชาต่าง ๆ
ในช่วงประมาณเดือน[[กันยายน]]-[[ตุลาคม]]ของทุกปี จะมีการบูชาพระแม่ทุรคาเรียกว่า [[เทศกาลนวราตรี| เทศกาลนวราตรีดุเซร่า]] มีการฉลองถึง ๙ วัน ๙ คืนด้วยกัน ใน[[ประเทศไทย]] งานฉลองนี้จะมีขึ้นประจำทุกปีที่[[วัดพระศรีมหาอุมาเทวี]] หรือ วัดแขกสีลม [[เขตบางรัก]] โดยมีการแห่ไปตามท้องถนนในเวลากลางคืนด้วยดอก[[ดาวเรือง]]และสิ่งบูชาต่าง ๆ


ตำนานกำเนิดพระแม่ทุรคามหาเทวี


อสูรสองพี่น้องคนพี่ชื่อกลัมภะ คนน้องชื่อรัมภะ
เป็นอสูรที่มีพลังอำนาจมีฤทธิ์ที่ยิ่งใหญ่
ปรารถนาที่จะได้ครอบครองโลกทั้งสามไว้ในอำนาจของตน
จึงออกไปบำเพ็ญเพียรทำตะบะระลึกถึงองค์ท่านท้าวมหาพรหมธาดาในป่าลึก
เพื่อวิงวอนขอความเป็นอมตะ
พระอินทร์เกรงว่าถ้าสองพี่น้องจอมอสูรทำพิธีสำเร็จสามโลกจะต้องเดือดร้อน
จึงแปลงร่างเป็นจระเข้ยักษ์กัดอสูรกลัมภะผู้พี่ตาย
อสูรรัมภะผู้น้องเกิดความเสียใจมาก
คว้าดาบจะตัดหัวตัวเองเพื่อเป็นเครื่องเซ่นสังเวยบูชามหาพรหมธาดา
พระพรหมธาดาทรงปรากฏร่างขัดขวางมิให้อสูรรัมภะฆ่าตัวตาย
จอมอสูรรัมภะจึงคิดจะทูลขอพรให้ตนเป็นอมตะ
แต่ฉุกคิดได้ว่าตนเองแก่เกินไป
ถึงจะเป็นอมตะแต่สังขารก็แก่เกินกว่าที่จะทำการใหญ่ได้แล้ว
จึงขอพรให้มีบุตรชายที่เป็นอมตะไม่มีสิ่งใดและไม่มีผู้ใดสามารถสังหารบุตรชายของตนได้
พระพรหมไม่ยอมให้พรเช่นนั้น
แต่ให้อสูรเลือกหาทางออกโดยต้องเลือกทางตายไว้อย่างหนึ่ง


จอมอสูรรัมภะจึงขอพรจากท่านท้าวมหาพรหมธาดาใหม่ว่า


ขอให้เทพเจ้าเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีหรือมนุษย์อมนุษย์สัตว์

ทั้งหลายที่มีอยู่แล้วในสามโลกไม่สามารถสังหารบุตรชายของตนได้

ยกเว้นหญิงที่เกิดโดยผิดปกติวิสัย
และ
หญิงผู้นั้นจะต้องไม่ถือกำเนิดจากการแบ่งภาคของพระแม่พระองค์ใด
หญิงนั้นจะต้องมีพลังอำนาจฤทธิ์เทียบเท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งปวง
และมีศาตราวุธทุกอย่างที่เหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีใช้อยู่รวมกัน
จึงจะสามารถสังหารบุตรชายผู้เป็นอมตะของตนได้
เหตุที่อสูรรัมภะทรงทูลขอเช่นนี้เพราะเชื่อมั่นว่าในสามโลกจะไม่มีหญิงเช่นนั้นแน่นอน
แต่พระพรหมก็ทรงให้พรตามที่จอมอสูรขอ
จอมอสูรรัมภะดีใจมากรีบเดินทางกลับเมืองทันที
ระหว่างทาง
จอมสูรรัมภะได้พบกับนางควายเผือกที่มีรูปร่างลักษณะที่งดงามที่ตนไม่เคยพบเห็นมาก่อนเลย
ด้วยอำนาจแห่งกรรมเก่าที่เคยมีต่อกันในอดีตชาติทำให้จอมอสูรเกิดความหลงรักนางควายสาว
จึงแปลงร่างเป็นควายแก่เข้าไปสมสู่กับนางควายเผือก
นานจนนางควายเผือกเกิดตั้งท้องขึ้นมาจอมอสูรจึงพานางควายสาวท้องแก่เดินทางกลับเมืองของตน
ระหว่างทางได้พบกับควายหนุ่มซึ่งเป็นควายเปลี่ยวที่ชายป่าใกล้เมือง


เกิดการต่อสู้กันเพื่อแย่งชิงนางควายเผือก


จอมอสูรรัมภะในร่างควายแก่สู้แรงปะทะของควายหนุ่มไม่ได้พลาดท่าถูกควายหนุ่มขวิดไส้แตกตาย

ควายหนุ่มวิ่งไล่กวดนางควายเผือกไปถึงประตูเมืองของจอมอสูรรัมภะ

นางควายเผือกร้องบอกให้ทหารในเมืองช่วย
เพราะตนเป็นเมียของจอมอสูรและยังมีลูกของจอมอสูรอยู่ในท้องตนด้วย
ทหารจึงช่วยกันรุมฆ่าควายหนุ่มตายแล้วนำนางควายเผือกและศพของจอมอสูรรัมภะกลับเข้าเมือง
นางควายเผือกอาศัยอยู่ในเมืองจนคลอดบุตรออกมาเป็นชายกายเป็นยักษ์หัวเป็นควาย
เป็นอมตะ(ฆ่าไม่ตาย)ตามคำประกาศิตที่ท่านท้าวมหาพรหมธาดาทรงให้พรกับพ่อ
อสูรผู้นี่มีชื่อว่า อหิษาสูร หรือ อสูรมหิงสา
เมื่อโตเป็นหนุ่มก็เที่ยวออกอาละวาดรุกรานรบไปทั้งสามโลก
ไม่มีผู้ใดสามารถปราบได้เพราะพรของท่านท้าวมหาพรหมธาดา
ความเดือดร้อนนี้ไม่มีผู้ใดช่วยได้
พระพรหมจึงทรงชี้ทางออกให้
โดยให้สร้างหญิงที่ไม่เคยมีมาก่อนในสามโลกขึ้นมา
หญิงผู้นั้นต้องเกิดแบบผิดวิสัยธรรมดา
และจะต้องมีฤทธิ์และมีศัตราวุธที่ทรงพลังอำนาจเทียบเท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์รวมกัน
จึงจะสามารถสังหารจอมอสูรและลบล้างพรของพระองค์ได้สำเร็จ
พระศิวะมหาเทพจึงทรงแสดงฤทธิ์
ใช้ดวงตาที่สามสร้างดวงไฟใหญ่ขึ้นบนฟากฟ้ามีแสงดั่งดวงอาทิตย์ที่ร้อนแรงและทรงพลังมหาศาลขึ้น
เหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์ทรงร่วมกันทำพิธีสร้างหญิงงามผู้หนึ่ง
ให้เกิดขึ้นจากดวงไฟนั้น
เป็นการลบล้างพรของท่านท้าวมหาพรหมธาดา
ที่ว่าหญิงนั้นจะต้องเกิดแบบผิดปกติวิสัยธรรมดา
มหาเทพมหาเทวีและมหาฤษีทั้งหลาย
ทรงมอบศัตราวุธและร่วมกับถ่ายพลังทิพยอำนาจทุกอย่างที่มีอยู่
ให้แก่หญิงงามที่พวกตนสร้างขึ้น
พระอิศวรทรงประทานนามหญิงงามผู้นั้นว่า
พระแม่ทุรคามหาเทวี
แล้วทรงมอบหมายหน้าที่ให้ไปปราบจอมอสูรมหิงสา
จอมอสูรพ่ายฤทธิ์พระแม่ทุรคามหาเทวี
ก่อนตายได้กลับกลายร่างเป็นควายเผือกตามชาติกำเนิดเดิมเข้าต่อสู้
พระแม่ทุรคาแปลงร่างเป็นเสือโคร่งตัวใหญ่กระโจนเข้าตะปบกัดฟัดจนควายเผือกตาย
กล่าวกันว่าในยุคนั้นไม่เคยมีเสือโคร่งมาก่อน


สามโลกจึงถือว่าเสือโคร่งนั้นเป็นสัตว์ที่เกิดจากพลังฤทธิ์ของพระแม่ทุรคามหาเทวี


หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งคือพระแม่ทุรคามหาเทวีทรงเป็นผู้ให้กำเนิดเสือนั่นเอง

คนฮินดูบางพวกจึงนับถือเสือเป็นเสมือนตัวแทนของพระแม่ทุรคามหาเทวี

ส่วนพระแม่ที่ทรงขี่สิงห์โต(ราชสีห์)คือพระแม่ศรีมหาอุมาเทวี
เมื่อจอมอสูรมหิงสาถูกพระแม่ทุรคามหาเทวีสังหารแล้วปัญหาใหม่ก็เกิดตามมา
ครั้งแรกผู้ที่มาร่วมกันสร้างพระแม่ทุรคามหาเทวีคิดแต่จะสังหารจอมอสูรมหิงสางสามโลก
เพื่อสันติสุขของสามโลกเท่านั้น
ลืมคิดไปว่า
เมื่อสร้างพระแม่ทุรคามหาเทวีให้มีฤทธิ์เท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีรวมกันขึ้นมาแล้ว
สักวันหนึ่งถ้าพระแม่ทุรคามหาเทวีเกิดแผลงฤทธิ์ขึ้นมาเหมือนพวกจอมอสูรแล้ว
จะไม่มีผู้ใดที่จะสามารถปราบพระแม่ทุรคาลงได้แน่
พระแม่ทุรคาทรงทราบถึงความวิตกของเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลายด้วยทิพย์ญาณ
จึงทรงประกาศว่า
พระนางเกิดจากมหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลาย
ดังนั้นเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลายจึงเป็นเสมือนผู้ให้กำเนิดพระองค์
พระองค์เปรียบเสมือนธิดาของทุกพระองค์
จะไม่ทำการสิ่งใดที่ไม่สมควรเป็นอันขาด
เพื่อความสบายใจของทุกพระองค์
พระองค์จะไปบำเพ็ญศีลภาวนา ณ แดนบาดานจะไม่มายุ่งเกี่ยวกับโลกทั้งสามอีก
แต่ยามใดที่เกิดภัยแก่สามโลกต้องการให้พระองค์ช่วยพระองค์จะเสด็จมาช่วยทันที
เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจแล้วพระองค์ก็จะเสด็จกลับไปอยู่ ณ แดนบาดานต่อไป
พระศิวะทรงกล่าวสรรเสริญในคุณธรรมของพระแม่ทุรคามหาเทวี
และทรงให้สามโลกกล่าวคำสรรเสริญพระแม่ทุรคามหาเทวีตลอดกาลและทรงประทานพรไว้ว่า
ผู้ใดที่ได้อ่านหรือได้รับฟังเรื่องราวของพระแม่ทุรคามหาเทวีตั้งแต่ต้นจนจบ
ผู้นั้นจะรอดพ้นจากบาปเคราะห์ทั้งปวง
ผู้ใดที่ได้อ่านหรือได้รับฟังเรื่องราวของพระแม่ทุรคามหาเทวีและ
สามารถนำไปบอกเล่าหรือนำไปเขียนถ่ายทอดให้ผู้อื่นรับรู้รับฟังต่อได้
นอกจากจะรอดพ้นจากบาปเคราะห์ทั้งปวงแล้ว
เมื่อสิ้นอายุขัยแล้ววิญญาณจักได้ไปสู่สวรรค์
ผู้ใดได้กราบไหว้บูชาพระแม่ทุรคามหาเทวี
เสมือนหนึ่งได้กราบไหว้บูชามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์พร้อมกัน
เพราะพระแม่เกิดจากมหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์รวมกัน
พระแม่ทุรคามหาเทวีจึงทรงมีความรู้ความสามารถและพลังทิพยอำนาจ
มีศัตรวุธของมหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์อยู่ในมือแต่เพียงผู้เดียว
(พระแม่องค์อื่นไม่มีสิทธิในการใช้ศัตราวุธของเทพเทวีองค์อื่นได้
แต่ผู้นับถือเสริมบารมีให้โดยการเลียนแบบพระแม่ทุรคามหาเทวี)
บางตำนานกล่าวถึงความทารุณโหดร้ายอำมหิตอุบาทว์ของพระแม่ทุรคามหาเทวี
เพราะความเข้าใจผิด
จำผิดเป็นเจ้าแม่กาลีหรือเจ้าแม่อัมพิกา
บางตำนานอ้างว่าพระแม่ทุรคาคือการแบ่งภาคของพระแม่องค์นั้นองค์นี้
ซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
เพราะถ้าพระแม่ทุรคามหาเทวีแบ่งภาคมาจากพระแม่องค์ ใดองค์หนึ่ง
ก็จะไม่สามารถลบล้างพรที่อสูรรัมภะขอกับพระพรหมไว้ว่า
หญิงที่จะสังหารบุตรชายของตนได้จะต้องมิใช่หญิงที่เกิดจากการแบ่งภาคของพระแม่องค์ใด


== พระลักษณะ ==
== พระลักษณะ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:33, 18 เมษายน 2561

จำพวก เทวี พาหนะ สิงโต อาวุธ จักร สังข์ ดาบ คฑา ธนู ตรีศูล
พระแม่ทุรคาทรงปราบอสูรในลักษณะ 18 กร

พระแม่ทุรคา (สันสกฤต: ทุรฺคา) หรือ พระศรีมหาทุรคาเทวี เป็นปางหนึ่งของ พระอุมาเทวี มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ไม่ว่าทั้งเทพเจ้า มนุษย์ อสูร แม้แต่พระศิวะ พระพรหม หรือพระวิษณุ ก็ไม่อาจสังหารมหิษาสูรได้ [1] มีเพียงหญิงสาวที่ไม่ได้เกิดอย่างธรรมชาติ และเป็นหนึ่งในอำนาจทั้งหมดของจักรวาล ซึ่งก็คือพระแม่ทุรคา ซึ่งเกิดจากอำนาจทั้งปวงของเหล่าเทพเจ้า

ในช่วงประมาณเดือนกันยายน-ตุลาคมของทุกปี จะมีการบูชาพระแม่ทุรคาเรียกว่า เทศกาลนวราตรีดุเซร่า มีการฉลองถึง ๙ วัน ๙ คืนด้วยกัน ในประเทศไทย งานฉลองนี้จะมีขึ้นประจำทุกปีที่วัดพระศรีมหาอุมาเทวี หรือ วัดแขกสีลม เขตบางรัก โดยมีการแห่ไปตามท้องถนนในเวลากลางคืนด้วยดอกดาวเรืองและสิ่งบูชาต่าง ๆ

พระลักษณะ

ภาพพระแม่ทุรคาปราบอสูรในลักษณะ 10 กร

พระแม่ทุรคาอยู่ในลักษณะของกัลยาผู้ที่สุนทรที่สุดในสามโลก มี ๑๐-๑๘ กร ถืออาวุธครบมือ ที่มีอำนาจไม่สิ้นสุด มีกายที่สว่างมาก มีพระเนตร ๓ ดวงที่มีลักษณะเหมือนปัทมา มีพระเกศที่นุ่มสละสลวย มีสีผิวสีทองแดง และมีดวงจันทร์ที่มีขนาดเป็นหนึ่งในสี่ส่วน ๑ ดวงอยู่บนพระนลาฏของพระนาง ประทับอยู่บนหลังสิงโต หรือเสือ ทรงทำยุทธกับมหิษาสูรซึ่งเป็นลูกของอสูรรัมภะกับนางกระบือ ซึ่งได้รับพรจากพระพรหมให้เป็นอมตะ และรบชนะทั้ง ๓ โลก [2] พระแม่ทุรคาทรงมีเครื่องแต่งกายสีฟ้ามหาสมุทรที่แวววาวและสีแดง และส่องแสงรัศมีที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความปรานี

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น