ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิเต๋า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7554893 สร้างโดย 1.47.34.124 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
# '''หยาง''' (陽 ''yáng'') คือพลังบวกมีลักษณะสีขาว เป็นพลังแสงสว่าง พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ความอบอุ่น สว่างไสว มั่นคง สดใส เช่น ดวงอาทิตย์ ไฟ ฯลฯ
# '''หยาง''' (陽 ''yáng'') คือพลังบวกมีลักษณะสีขาว เป็นพลังแสงสว่าง พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ความอบอุ่น สว่างไสว มั่นคง สดใส เช่น ดวงอาทิตย์ ไฟ ฯลฯ


[[เอกภพ]]เกิดขึ้นโดยมีหยินและหยาง จากการปะทะกันของสองสิ่งนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างก็อุบัติขึ้นมา ทุกสิ่งทุกอย่างมีพลังทั้งสองนี้ทั้งนั้น บางครั้งหยินอาจมีพลังแข็งแรง แต่บางครั้ง หยาง ก็มีพลังมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ท่อนไม้ ตามปกติเป็นหยิน แต่เมื่อโยนเข้าไปในกองไฟ ก็เปลี่ยนรูปเป็นหยางไป ในชีวิตหยินและหยางก่อให้เกิดความล้มเหลวและความสำเร็จ เป็นต้น เช่นเดียวกัน หยางและหยินไม่ใช่เป็นตัวแทนของความดีและความชั่ว แต่ทั้งสองนี้มีความจำเป็นต่อกฎเกณฑ์และระเบียบของเอกภพ ทั้งสองนี้ไม่ใช่อยู่ในภาวะปะทะกันตลอดเวลา แต่ยามใดมีความสามัคคีกัน ทั้งสองอย่างนี้ก็เป็นสิ่งดีด้วยกัน
[[เอกภพ]]เกิดขึ้นโดยมีหยินและหยาง จากการปะทะกันของสองสิ่งนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างก็อุบัติขึ้นมา ทุกสิ่งทุกอย่างมีพลังทั้งสองนี้ทั้งนั้น บางครั้งหยินอาจมีพลังแข็งแรง แต่บางครั้ง หยาง ก็มีพลังมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ท่อนไม้ ตามปกติเป็นหยิน แต่เมื่อโยนเข้าไปในกองไฟ ก็เปลี่ยนรูปเป็นหยางไป ในชีวิตหยินและหยางก่อให้เกิดความล้มเหลวและความสำเร็จ เป็นต้น เช่นเดียวกัน หยางและหยินไม่ใช่เป็นตัวแทนของความดีและความชั่ว แต่ทั้งสองนี้มีความจำเป็นต่อกฎเกณฑ์และระเบียบของเอกภพ ทั้งสองนี้ไม่ใช่อยู่ในภาวะปะทะกันตลอดเวลา แต่ยามใดมีความสามัคคีกัน ทั้งสองอย่างนี้ก็เป็นสิ่งดีด้วยกัน

ในช่วงยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกหรือยุคฮั่นตอนปลายได้มีการประมวลศาสนาเต๋าเป็นครั้งแรกโดยรวบรวมหลักธรรมแนวคิดเต๋าทั้งหมดที่ถูกสอนต่อๆกันมาตั้งแต่ยุคหวงตี้ผสานกับความเชื่อเรื่องเทพเซียนในสมัยนั้นนำมาจัดลำดับใหม่ โดยเนื้อหาที่ถูกรวบรวมขึ้นมานั้นถูกบันทึกไว้ในคำภีร์เต้าจ้าง หรือพูดง่ายๆเลยคำภีร์เต้าจ้างเป็นหนังสือรวบรวมทุกอย่างที่เป็นศาสตร์แห่งเต๋าเข้าไว้ด้วยกันเหมือนกับที่พระสงฆ์ในอินเดียรวบรวมศาสตร์แห่งพุทธเข้าไว้ด้วยกันในพระไตรปิฎกหลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว500ปี คำภีร์เต้าจ้างในศาสนาเต๋ามีเนื้อหายาวพอๆกับพระไตรปิฎกของศาสนาพุทธและคำภีร์ทั้งสองศาสนานี้ถูกรวบรวมหลังจากที่ศาสดาของทั้งศาสนานี้ตายจากโลกไปประมาฯ500ปีเหมือนกัน


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:44, 13 เมษายน 2561

สัญลักษณ์ หยิน-หยาง

ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (จีน: 道教 Dàojiao; อังกฤษ: Taoism) เป็นศาสนาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตอยู่กับธรรมชาติ โดยคำว่า เต๋า แปลว่า "มรรค" หรือ "หนทาง" ซึ่งไม่สามารถรู้ได้ด้วยอักษรและชื่อ ถ่ายทอดไม่ได้

เล่าจื๊อ ศาสดาของศาสนาเต๋าได้เขียนข้อความสื่อถึง "เต๋า" ไว้ในคัมภีร์ "เต้าเต๋อจิง" (道德經 Dàodéjīng)

แนวคิดสำคัญอีกประการหนึ่งในศาสนาเต๋าคือเรื่อง "ยินหยาง" ซึ่งหมายถึง ธรรมชาติที่เป็นของคู่ตรงกันข้าม สิ่งที่เป็นของคู่

  1. ยิน (陰 yīn) คือพลังลบ มีลักษณะสีดำ เป็นพลังความมืด พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ความหนาวเย็น ความมืด อ่อนนุ่ม ชื้นแฉะ ลึกลับ และเปลี่ยนแปลง เช่น เงามืด น้ำ ฯลฯ
  2. หยาง (陽 yáng) คือพลังบวกมีลักษณะสีขาว เป็นพลังแสงสว่าง พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ความอบอุ่น สว่างไสว มั่นคง สดใส เช่น ดวงอาทิตย์ ไฟ ฯลฯ

เอกภพเกิดขึ้นโดยมีหยินและหยาง จากการปะทะกันของสองสิ่งนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างก็อุบัติขึ้นมา ทุกสิ่งทุกอย่างมีพลังทั้งสองนี้ทั้งนั้น บางครั้งหยินอาจมีพลังแข็งแรง แต่บางครั้ง หยาง ก็มีพลังมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ท่อนไม้ ตามปกติเป็นหยิน แต่เมื่อโยนเข้าไปในกองไฟ ก็เปลี่ยนรูปเป็นหยางไป ในชีวิตหยินและหยางก่อให้เกิดความล้มเหลวและความสำเร็จ เป็นต้น เช่นเดียวกัน หยางและหยินไม่ใช่เป็นตัวแทนของความดีและความชั่ว แต่ทั้งสองนี้มีความจำเป็นต่อกฎเกณฑ์และระเบียบของเอกภพ ทั้งสองนี้ไม่ใช่อยู่ในภาวะปะทะกันตลอดเวลา แต่ยามใดมีความสามัคคีกัน ทั้งสองอย่างนี้ก็เป็นสิ่งดีด้วยกัน

ในช่วงยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกหรือยุคฮั่นตอนปลายได้มีการประมวลศาสนาเต๋าเป็นครั้งแรกโดยรวบรวมหลักธรรมแนวคิดเต๋าทั้งหมดที่ถูกสอนต่อๆกันมาตั้งแต่ยุคหวงตี้ผสานกับความเชื่อเรื่องเทพเซียนในสมัยนั้นนำมาจัดลำดับใหม่ โดยเนื้อหาที่ถูกรวบรวมขึ้นมานั้นถูกบันทึกไว้ในคำภีร์เต้าจ้าง หรือพูดง่ายๆเลยคำภีร์เต้าจ้างเป็นหนังสือรวบรวมทุกอย่างที่เป็นศาสตร์แห่งเต๋าเข้าไว้ด้วยกันเหมือนกับที่พระสงฆ์ในอินเดียรวบรวมศาสตร์แห่งพุทธเข้าไว้ด้วยกันในพระไตรปิฎกหลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว500ปี คำภีร์เต้าจ้างในศาสนาเต๋ามีเนื้อหายาวพอๆกับพระไตรปิฎกของศาสนาพุทธและคำภีร์ทั้งสองศาสนานี้ถูกรวบรวมหลังจากที่ศาสดาของทั้งศาสนานี้ตายจากโลกไปประมาฯ500ปีเหมือนกัน

อ้างอิง

  • Balfour, Frederic Henry, tr. The Divine Classic of Nan-Hua; Being the Works of Chuang Tsze, Taoist Philosopher (Kelly & Walsh, 1881).
  • Barrett, Rick. Taijiquan: Through the Western Gate (Blue Snake Books, 2006). ISBN 1-58394-139-8.
  • Cane, Eulalio Paul. Harmony: Radical Taoism Gently Applied (Trafford Publishing, 2002). ISBN 1-4122-4778-0.
  • Carr, Michael. "Whence the Pronunciation of Taoism?". Dictionaries (1990) 12:55-74.
  • Carr, David T. & Zhang, Canhui. Space, Time, and Culture (Springer, 2004). ISBN 1-4020-2823-7.
  • Chan Wing-tsit. A Source Book in Chinese Philosophy (Princeton, 1963). ISBN 0-691-01964-9.
  • Chang, Stephen T. The Great Tao (Tao Longevity LLC, 1985). ISBN 0-942196-01-5.
  • Demerath, Nicholas J. Crossing the Gods: World Religions and Worldly Politics (Rutgers University Press, 2003). ISBN 0-8135-3207-8.
  • Dumoulin, Heinrich, Heisig, James W. & Knitter, Paul. Zen Buddhism: A History (India and China) (World Wisdom, Inc, 2005). ISBN 0-941532-89-5.
  • Eliade, Mircea. A History of Religious Ideas, Volume 2. Translated by Willard R. Trask. Chicago: University of Chicago Press, 1984.
  • Fasching, Darrell J. & deChant, Dell. Comparative Religious Ethics: a narrative approach (Blackwell Publishing, 2001). ISBN 0-631-20125-4.
  • Fisher, Mary Pat. Living Religions: An Encyclopaedia of the World's Faiths (I.B. Tauris, 1997). ISBN 1-86064-148-2.
  • Goodspeed, Bennett W. The Tao Jones Averages: A Guide to Whole-Brained Investing (E. P. Dutton, 1983).
  • Graham, Angus. Disputers of the Tao (Open Court, 1989) ISBN 0-8126-9087-7.
  • Hansen, Chad D. A Daoist Theory of Chinese Thought: A Philosophical Interpretation (Oxford University Press, 2000). ISBN 0-19-513419-2.
  • Hucker, Charles O. China's Imperial Past: An Introduction to Chinese History and Culture (Stanford University Press, 1995). ISBN 0-8047-2353-2.
  • Jones, Richard H. Mysticism and Morality: a new look at old questions (Lexington Books, 2004). ISBN 0-7391-0784-4.
  • Keller, Catherine. The Face of the Deep: A Theology of Becoming (Routledge, 2003). ISBN 0-415-25648-8.
  • Kim, Ha Poong. Reading Lao Tzu: A Companion to the Tao Te Ching With a New Translation (Xlibris Corporation, 2003). ISBN 1-4010-8316-1.
  • Kirkland, Russel. Taoism: The Enduring Tradition (Routledge, 2004). ISBN 0-415-26322-0.
  • Kohn, Livia, ed. Daoism Handbook (Leiden: Brill, 2000).
  • Kohn, Livia. The Daoist Monastic Manual: A Translation of the Fengdao Kejie (New York: Oxford University Press 2004)
  • Kohn, Livia & LaFargue, Michael, ed. Lao-Tzu and the Tao-Te-Ching (SUNY Press, 1998). ISBN 0-7914-3599-7.
  • Komjathy, Louis. Handbooks for Daoist Practice. 10 vols. Hong Kong: Yuen Yuen Institute, 2008.
  • Kraemer, Kenneth. World Scriptures: An Introduction to Comparative Religions (Paulist Press, 1986). ISBN 0-8091-2781-4.
  • LaFargue, Michael. Tao and Method: A Reasoned Approach to the Tao Te Ching (SUNY Press. 1994) ISBN 0-7914-1601-1.
  • Little, Stephen and Shawn Eichman, et al. Taoism and the Arts of China (Chicago: Art Institute of Chicago, 2000). ISBN 0-520-22784-0
  • Mair, Victor H. The Columbia History of Chinese Literature (Columbia University Press, 2001). ISBN 0-231-10984-9
  • Mair, Victor H. Experimental Essays on Chuang-tzu (Hawaii, 1983) ISBN 0-88706-967-3.
  • Markham, Ian S. & Ruparell, Tinu. Encountering Religion: an introduction to the religions of the world (Blackwell Publishing, 2001). ISBN 0-631-20674-4.
  • Martin, William. A Path And A Practice: Using Lao Tzu's Tao Te Ching as a Guide to an Awakened Spiritual Life (Marlowe & Company, 2005). ISBN 1-56924-390-5.
  • Martinson, Paul Varo. A theology of world religions: Interpreting God, self, and world in Semitic, Indian, and Chinese thought (Augsburg Publishing House, 1987). ISBN 0-8066-2253-9.
  • Maspero, Henri. Translated by Frank A. Kierman, Jr. Taoism and Chinese Religion (University of Massachusetts Press, 1981). ISBN 0-87023-308-4
  • Miller, James. Daoism: A Short Introduction (Oxford: Oneworld Publications, 2003). ISBN 1-85168-315-1
  • Mollier, Christine. Buddhism and Taoism Face to Face: Scripture, Ritual, and Iconographic Exchange in Medieval China. (University of Hawai'i Press, 2008). ISBN 0-8248-3169-1.
  • Moore, Charles Alexander. The Chinese Mind: Essentials of Chinese Philosophy and Culture (University of Hawaii Press, 1967). ISBN 0-8248-0075-3.
  • Occhiogrosso, Peter. The Joy of Sects (Doubleday, 1994). ISBN 0-385-42564-3
  • Pas, Julian F. & Leung, Man Kam. Historical Dictionary of Taoism (Scarecrow Press, 1998). ISBN 0-8108-3369-7.
  • Prebish, Charles. Buddhism: A Modern Perspective (Penn State Press, 1975). ISBN 0-271-01195-5.
  • Robinet, Isabelle. Taoist Meditation: The Mao-shan Tradition of Great Purity (Albany: SUNY Press, 1993 [original French 1989]).
  • Robinet, Isabelle. Taoism: Growth of a Religion (Stanford: Stanford University Press, 1997 [original French 1992]). ISBN 0-8047-2839-9
  • Segal, Robert Alan. The Blackwell Companion to the Study of Religion (Blackwell Publishing, 2006). ISBN 0-631-23216-8.
  • Schipper, Kristopher. The Taoist Body (Berkeley: University of California Press, 1993 [original French version 1982]).
  • Schipper, Kristopher and Franciscus Verellen. The Taoist Canon: A Historical Companion to the Daozang (Chicago: University of Chicago, 2004).
  • Sharot, Stephen. A Comparative Sociology of World Religions: virtuosos, priests, and popular religion (New York: NYU Press, 2001). ISBN 0-8147-9805-5.
  • Silvers, Brock. The Taoist Manual (Honolulu: Sacred Mountain Press, 2005).
  • Slingerland, Edward Gilman. Effortless Action: Wu-Wei as Conceptual Metaphor and Spiritual Ideal in Early China (Oxford University Press, 2003). ISBN 0-19-513899-6.
  • Van Voorst, Robert E. Anthology of World Scriptures (Thomson Wadsworth, 2005). ISBN 0-534-52099-5.
  • Waley, Arthur. The Way and Its Power: A Study of the Tao Te Ching and Its Place in Chinese Thought (Grove Press, 1958). ISBN 0-8021-5085-3.

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Kirkland, Russell. Taoism: The Enduring Tradition. London and New York: Routledge, 2004.
  • Kohn, Livia. The Taoist Experience: An Anthology (Albany: SUNY Press, 1993).
  • Komjathy, Louis. Handbooks for Daoist Practice. 10 vols. Hong Kong: Yuen Yuen Institute, 2008.
  • Miller, James. Daoism: A Short Introduction (Oxford: Oneworld Publications, 2003). ISBN 1-85168-315-1
  • Saso, Michael R. Taoism and the Rite of Cosmic Renewal (2nd ed., Washington State University Press, 1990). ISBN 978-0-87422-054-4
  • Sivin, Nathan. Chinese Alchemy: Preliminary Studies (Cambridge: Harvard University Press, 1968)
  • Sommer, Deborah. Chinese Religion: An Anthology of Sources (Oxford University Press, 1995) ISBN 0-19-508895-6
  • Welch, H. and Seidel, A., Facets of Taoism (Yale University Press, 1979)
  • Daoism entry from the Center for Daoist Studies
Popular (non-academic) interpretations of Taoism

แหล่งข้อมูลอื่น