ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาในประเทศญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lephill (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7271570 สร้างโดย 115.87.119.136 (พูดคุย)
กานเชลซี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
'''ศาสนาใน[[ประเทศญี่ปุ่น]]''' ถูกครอบงำโดย[[ลัทธิชินโต]]เป็นหลักซึ่งเป็นลัทธิเก่าแก่ของชนชาติญี่ปุ่น ถึงแม้ว่าศาสนาพุทธจะเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในญี่ปุ่นแต่พุทธสถานเกือบทั้งหมดในญี่ปุ่นก็ได้รับอิทธิพลจากลัทธิชินโตอยู่ไม่น้อย จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2549 และ 2551 พบว่า ชาวญี่ปุ่นน้อยกว่าร้อยละ 40 ระบุว่าตนเองนับถือศาสนา โดยนับถือศาสนาพุทธ 34%, นับถือสำนักลัทธิชินโตราว 3.0-3.9% และราว 1.0-2.9% นับถือศาสนาคริสต์
'''ศาสนาใน[[ประเทศญี่ปุ่น]]''' ถูกครอบงำโดย[[ลัทธิชินโต]]เป็นหลักซึ่งเป็นลัทธิเก่าแก่ของชนชาติญี่ปุ่น ถึงแม้ว่าศาสนาพุทธจะเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในญี่ปุ่นแต่พุทธสถานเกือบทั้งหมดในญี่ปุ่นก็ได้รับอิทธิพลจากลัทธิชินโตอยู่ไม่น้อย จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2549 และ 2551 พบว่า ชาวญี่ปุ่นน้อยกว่าร้อยละ 40 ระบุว่าตนเองนับถือศาสนา โดยนับถือศาสนาพุทธ 34%, นับถือสำนักลัทธิชินโตราว 3.0-3.9% และราว 1.0-2.9% นับถือศาสนาคริสต์


แม้ว่าคนญี่ปุ่นมากกว่าครึ่งจะระบุว่าตนเองนั้นเป็น "[[การไม่มีศาสนา|ผู้ที่ไม่มีศาสนา]]" แต่ในทางปฏิบัติก็พบว่าในส่วนมากของกลุ่มคนเหล่านี้มีพฤติกรรมแบบ "นับถือแบบไม่เจาะจง" (เสมือน [[พหุเทวนิยม]]) คือไม่ได้เจาะจงว่าตนเองนั้นศรัทธาต่อพระเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์องค์ใด ฉะนั้น เราจะพบว่ากลุ่มคนกลุ่มนี้ยังมีการขอพรจากเทพ กราบพระ เข้าศาลเจ้าชินโต เข้าวัดพุทธ เมื่อมีโอกาสหรือในเทศกาลสำคัญๆ แม้ว่าจะระบุว่าตนเองเป็นพวก[[การไม่มีศาสนา|ไม่มีศาสนา]]
แม้ว่าคนญี่ปุ่นมากกว่าครึ่งจะระบุว่าตนเองนั้นเป็น "[[การไม่มีศาสนา|ผู้ที่ไม่มีศาสนา]]" แต่ในทางปฏิบัติก็พบว่าในส่วนมากของกลุ่มคนเหล่านี้มีพฤติกรรมแบบ "นับถือแบบไม่เจาะจง" (เสมือน [[พหุเทวนิยม]]) คือไม่ได้เจาะจงว่าตนเองนั้นศรัทธาต่อพระเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์องค์ใด ฉะนั้น เราจะพบว่ากลุ่มคนกลุ่มนี้ยังมีการขอพรจากเทพ กราบพระ เข้าศาลเจ้าชินโต เข้าวัดพุทธ เมื่อมีโอกาสหรือในเทศกาลสำคัญๆ แม้ว่าจะระบุว่าตนเองเป็นผู้[[การไม่มีศาสนา|ไม่มีศาสนา]]


== การจำแนกประชากร ==
== การจำแนกประชากร ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:29, 8 เมษายน 2561


ศาสนาในประเทศญี่ปุ่น (พ.ศ. 2549)[1]
ไม่มีศาสนา
  
51.8%
พุทธ
  
34.9%
สำนักชินโต
  
4%
คริสต์
  
2.3%
ไม่ระบุ
  
7%

ศาสนาในประเทศญี่ปุ่น ถูกครอบงำโดยลัทธิชินโตเป็นหลักซึ่งเป็นลัทธิเก่าแก่ของชนชาติญี่ปุ่น ถึงแม้ว่าศาสนาพุทธจะเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในญี่ปุ่นแต่พุทธสถานเกือบทั้งหมดในญี่ปุ่นก็ได้รับอิทธิพลจากลัทธิชินโตอยู่ไม่น้อย จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2549 และ 2551 พบว่า ชาวญี่ปุ่นน้อยกว่าร้อยละ 40 ระบุว่าตนเองนับถือศาสนา โดยนับถือศาสนาพุทธ 34%, นับถือสำนักลัทธิชินโตราว 3.0-3.9% และราว 1.0-2.9% นับถือศาสนาคริสต์

แม้ว่าคนญี่ปุ่นมากกว่าครึ่งจะระบุว่าตนเองนั้นเป็น "ผู้ที่ไม่มีศาสนา" แต่ในทางปฏิบัติก็พบว่าในส่วนมากของกลุ่มคนเหล่านี้มีพฤติกรรมแบบ "นับถือแบบไม่เจาะจง" (เสมือน พหุเทวนิยม) คือไม่ได้เจาะจงว่าตนเองนั้นศรัทธาต่อพระเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์องค์ใด ฉะนั้น เราจะพบว่ากลุ่มคนกลุ่มนี้ยังมีการขอพรจากเทพ กราบพระ เข้าศาลเจ้าชินโต เข้าวัดพุทธ เมื่อมีโอกาสหรือในเทศกาลสำคัญๆ แม้ว่าจะระบุว่าตนเองเป็นผู้ไม่มีศาสนา

การจำแนกประชากร

ผู้นับถือศาสนาในญี่ปุ่น
ศาสนา 2527[2] 2539[3] 2551
พุทธ 27% 29.5% 34%
ชินโต 3% 1% 3%
คริสต์ 2% 2% 1%
ผู้นับถือศาสนาในญี่ปุ่นแบ่งตามจังหวัด (พ.ศ. 2539)[3]
จังหวัด พุทธ
เท็นได
หรือ
ชิงงง
พุทธ
นิกาย
สุขาวดี
พุทธ
นิกาย
เซน
พุทธ
นิชิเร็น
สมาคม
สร้างคุณค่า
สำนักพุทธอื่นๆ พุทธองค์รวม สำนักหรือ
องค์กรชินโต
คริสต์ ชินโตพื้นบ้าน
หรือไม่นับถือ
ฮกไกโด ~3% 13.3% 8.2% 3.2% ~2% ~2% ~31.7% ~2% ~1% ~65.3%
อะโอะโมะริ ~1% 10.3% 5.6% 3.4% ~2% ~3% ~25.3% ~2% ~1% ~71.7%
อิวะเตะ ~2% 6.1% 12.8% ~0 ~2% ~3% ~25.9% ~0 ~1% ~73.1%
มิยะงิ ~3% 4.8% 9.5% ~2% ~2% ~2% ~23.3% ~0 ~1% ~75.7%
อะกิตะ ~0 6.9% 9.5% ~3% ~2% ~2% ~21.4% ~3% ~0 ~75.6%
ยะมะงะตะ ~4% 5.6% 8.5% ~3% ~3% 3.4% ~27.5% ~2% ~1% ~69.5%
ฟุกุชิมะ 5.2% 4.8% 5.2% ~0 ~3% ~3% ~21.2% ~0 ~0 ~78.8%
อิบะระกิ 7.1% 4.1% ~2% ~2% ~3% ~2% ~20.2% ~1% ~1% ~77.8%
โทะชิงิ 6% 3.1% ~3% ~3% 3.1% ~2% ~20.2% ~0 ~1 ~78.8%
กุมมะ 6.6% 3.6% 5.8% ~3% ~3% ~2% ~24% ~1% ~2% ~73%
ไซตะมะ 5.8% 5.2% ~3% ~2% 3.3% ~1% ~20.3% ~0 ~2% ~77.7%
ชิบะ 3.8% 4.5% ~1% 3.3% ~3% ~1% ~16.6% ~0 ~1% ~82.4%
โตเกียว 3.4% 8.3% ~2% 3.3% 4% ~2% ~23% ~1% 3.4% ~72.6%
คะนะงะวะ ~3% 5.5% 3.7% 3.7% 3.5% ~2% ~21.4% ~1% ~3% ~74.6%
นีงะตะ 3.2% 10.6% 4.9% ~1% ~2% ~2% ~23.7% ~1% ~1% ~74.3%
โทะยะมะ ~2% 41.3% ~1% ~2% ~1% ~1% ~48.3% ~0 ~0 ~51.7%
อิชิกะวะ ~2 36.2% ~1% ~1% ~0 ~3% ~43.2% ~1% ~1% ~54.8%
ฟุกุอิ ~2% 41.4% 5.5% 3.9% ~1% ~3% ~56.8% ~1% ~0 ~42.2%
ยะมะนะชิ ~1% 4.5% 6.2% 8.9% ~3% ~3% ~26.6% ~1% ~1% ~71.4%
นะงะโนะ 3.5% 11.8% 7.6% ~2% ~3% ~2% ~29.9% ~1% ~1% ~68.1%
กิฟุ ~3% 23.2% 6.8% ~1% ~3% ~1% ~38.1% ~1% ~1% ~59.9%
ชิซุโอะกะ ~1% 6.2% 9.4% 7.3% 3.6% ~4% ~31.5% ~1% ~1% ~66.5%
ไอชิ ~3% 16.7% 8.5% ~1% ~3% ~2% ~34.2% ~2% ~2% ~61.8%
มิเอะ ~3% 22.9% 4.2% ~1% ~2% ~2% ~35.1% ~1% ~1% ~62.9%
ชิงะ 3% 26.7% 3.2% ~2% ~3% ~0 ~37.9% ~0 ~1% ~61.1%
เคียวโตะ ~3% 17.5% 3.4% ~2% ~3% ~3% ~31.9% ~2% ~2% ~66.1%
โอซะกะ 5.9% 15.6% ~3% 3% 5.2% ~1% ~33.7% ~1% ~1% ~64.3%
เฮียวโงะ 8.6% 12.2% 3.1% ~3% 3.1% ~3% ~33% ~2% ~2% ~63%
นะระ 4.2% 17.3% ~1% ~3% ~3% ~2% ~30.5% ~0 ~1% ~68.5%
วะกะยะมะ 9.6% 13.5% ~3% ~1% 3.5% ~2% ~32.6% ~0 ~0 ~67.4%
ทตโตะริ ~3% 10.4% 8.8% 4% ~2% ~3% ~31.2% ~3% ~1% ~64.8%
ชิมะเนะ ~4% 18.4% 6.5% ~2% ~1% ~3% ~30.9% ~2% ~1% ~66.1%
โอะกะยะมะ 16.6% 5.1% 3% 5.9% ~3% 0 ~33.6% ~2% ~1% ~63.4%
ฮิโระชิมะ 4.4% 35.3% 3.6% ~2% 4.9% ~1% ~51.2% ~2% ~2% ~44.8%
ยะมะงุชิ ~3% 21.9% 3.8% ~2% 3.8% ~1% ~35.5% ~1% ~1% ~62.5%
โทะกุชิมะ 19.8% 6.7% ~0 ~1% 3% ~1% ~31.5% ~1% ~1% ~66.5%
คะงะวะ 14% 18% ~1% ~2% ~3% ~1% ~39% ~0 ~1% ~60%
เอะฮิเมะ 9.3% 6.7% 5.3% ~2% ~3% ~1% ~27.3% ~1% ~2% ~69.7%
โคชิ 6.3% 6.3% ~0 ~1% ~3% ~1% ~17.6% 5.5% ~0 ~76.9%
ฟุกุโอะกะ ~2% 24.1% 3.3% 3% 3.3% ~2% ~37.7% ~1% ~2% ~59.3%
ซะงะ ~4% 21.9% 6.1% ~3% ~2% ~3% ~40% ~0 ~0 ~60%
นะงะซะกิ 4.9% 19.5% 3.6% 5.1% ~3% ~3% ~39.1% ~2% 5.1% ~53.8%
คุมะโมะโตะ ~2% 28.4% ~3% ~2% ~2% ~1% ~38.4% ~0 ~1% ~61.6%
โออิตะ ~3% 20.7% 4.7% ~3% ~3% ~1% ~35.4% ~2% ~1% ~61.6%
มิยะซะกิ ~3% 18.2% ~3% ~3% ~3% 3.3% ~33.5% 3.8% ~1% ~61.7%
คะโงะชิมะ ~2% 29.8% ~1% ~2% ~3% 6% ~43.8% ~3% ~0 ~53.2%
โอะกินะวะ ~0 ~0 ~0 ~0 3.6% ~0 ~3,6% ~0 ~3 ~93.4%
ญี่ปุ่น 4% 12.9% 4.1% ~3% 3% ~2.5% ~29.5% ~1% ~2% ~67.5%

อ้างอิง

  1. Dentsu Communication Institute, Japan Research Center: Sixty Countries' Values Databook (世界60カ国価値観データブック).
  2. 1984 NHK survey of religion in Japan. Results recorded in: Bestor, Yamagata, 2011, p. 66
  3. 3.0 3.1 Religion in Japan by prefecture, 1996