ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี"

พิกัด: 14°52′47″N 102°01′15″E / 14.8797599°N 102.0207167°E / 14.8797599; 102.0207167
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tktoo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kjeksdnfewuh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
}}
}}


'''มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี''' เป็น[[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ]]แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดนครราชสีมา]] ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ [[27 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2533]] โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ขึ้นเป็น [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 [[สถาบันสมทบ]] โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไทย
'''มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี''' ([[อังกฤษ]]; Suranaree University of Technology) เป็น[[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ]]แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดนครราชสีมา]] ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ [[27 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2533]] โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ขึ้นเป็น [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 [[สถาบันสมทบ]] โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไทย


== ประวัติ ==
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาจาก[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] ที่ 2.88 จากคะแนนเต็ม 3 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก และได่รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก [[สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา]] ในกลุ่มการผลิตบัณฑิตและวิจัยในรอบการประเมินที่ 2 เท่ากับ 4.76 จากคะแนนเต็ม 5 อยู่ในระดับดีมาก
* ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[27 กรกฎาคม]][[พ.ศ. 2533]] และได้รับนักศึกษารุ่นแรกปี [[พ.ศ. 2536]]<ref>[http://www.sut.ac.th/plandiv/SUTHistory/ ประวัติความเป็นมา มทส]</ref>
* มหาวิทยาลัยกลุ่มดีเลิศด้านการวิจัย และกลุ่มดีเด่นด้านการเรียนการสอน จากการจัดอันดับโดย สกอ.ในปี [[พ.ศ. 2551]]

ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 รัฐบาลมีนโยบายกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาคและชนบทให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นใน [[พ.ศ. 2527]]ทบวงมหาวิทยาลัยจึงเสนอให้รัฐบาลจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่ในส่วนภูมิภาค 5 แห่ง ได้แก่ภาคเหนือ 1 แห่ง ภาคใต้ 1 แห่ง ภาคตะวันออก 1 แห่ง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 แห่ง ในส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้จัดตั้งวิทยาลัยในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ขึ้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดนครราชสีมา โดยวิทยาลัยที่จัดตั้งขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมาให้ใช้ชื่อว่า“ วิทยาลัยสุรนารี ”และเลือกพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมบริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ประมาณ 7,000 ไร่ เป็นที่ตั้ง

ต่อมารัฐบาลซึ่งมี[[ชาติชาย ชุณหะวัณ]]เป็นนายกรัฐมนตรีได้เล็งเห็นความจำเป็นในการเร่งรัดจัดตั้งมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นในส่วนภูมิภาค เพื่อให้มีศักยภาพและความพร้อมที่จะสนองความต้องการของการพัฒนาประเทศในภูมิภาคต่างๆ ดังนั้นคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2531 จึงมีมติให้ยกฐานะวิทยาลัยในภูมิภาคทั้ง 5 แห่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศพร้อมกันนี้ได้อนุมัติให้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสุรนารีโดยมีปลัดทบวงมหาวิทยาลัย (ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน) เป็นประธานคณะกรรมการฯ ได้จัดทำโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเสนอต่อรัฐบาล พร้อมทั้งเสนอร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่อสภาผู้แทนราษฎรในสมัยประชุม[[พ.ศ. 2532]]

เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2533]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติดังกล่าว และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม 2533 ให้ยกฐานะ "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]  ขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและถือเอาวันที่ 27 กรกฎาคม 2533 เป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยในช่วงเดือนกรกฎาคม 2533 - พฤษภาคม 2536 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาที่ทำการโดยจัดจ้างก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้างและจัดให้มีพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2533 อาคารและสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่แล้วเสร็จทันการเปิดดำเนินการรับนักศึกษาในเดือนพฤษภาคมโดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้านเป็นอธิการบดีผู้ก่อตั้ง


ในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการจัด[[อันดับสถาบันอุดมศึกษาโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับที่ 3 ด้านการวิจัย (ดีเลิศ) และ อันดับที่ 7 ด้านการเรียนการสอน (ดีเยี่ยม) ของประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการจัด[[อันดับสถาบันอุดมศึกษาโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับที่ 3 ด้านการวิจัย (ดีเลิศ) และ อันดับที่ 7 ด้านการเรียนการสอน (ดีเยี่ยม) ของประเทศไทย
บรรทัด 33: บรรทัด 41:
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นต้นแบบของการจัดการสหกิจศึกษา (Cooperative Education) ซึ่งจัดให้นักศึกษาได้มีโอกาสไปปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการเป็นเวลาอย่างน้อยหนึ่งภาคการศึกษา ผลการดำเนินงานพบว่าประสบความสำเร็จอย่างสูง ช่วยให้บัณฑิตของมหาวิทยาลัยมีอัตราการได้งานทำสูงที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ และในปี พ.ศ. 2555 มหาวิทยาลัยได้รับเลือกจากคณะกรรมการสมาคมสหกิจศึกษาโลกให้เป็นสำนักงานสำนักงานสหกิจศึกษาภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นต้นแบบของการจัดการสหกิจศึกษา (Cooperative Education) ซึ่งจัดให้นักศึกษาได้มีโอกาสไปปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการเป็นเวลาอย่างน้อยหนึ่งภาคการศึกษา ผลการดำเนินงานพบว่าประสบความสำเร็จอย่างสูง ช่วยให้บัณฑิตของมหาวิทยาลัยมีอัตราการได้งานทำสูงที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ และในปี พ.ศ. 2555 มหาวิทยาลัยได้รับเลือกจากคณะกรรมการสมาคมสหกิจศึกษาโลกให้เป็นสำนักงานสำนักงานสหกิจศึกษาภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาจาก[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] ที่ 2.88 จากคะแนนเต็ม 3 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก และได่รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก [[สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา]] ในกลุ่มการผลิตบัณฑิตและวิจัยในรอบการประเมินที่ 2 เท่ากับ 4.76 จากคะแนนเต็ม 5 อยู่ในระดับดีมาก
== ประวัติ ==
* ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[27 กรกฎาคม]][[พ.ศ. 2533]] และได้รับนักศึกษารุ่นแรกปี [[พ.ศ. 2536]]<ref>[http://www.sut.ac.th/plandiv/SUTHistory/ ประวัติความเป็นมา มทส]</ref>
* มหาวิทยาลัยกลุ่มดีเลิศด้านการวิจัย และกลุ่มดีเด่นด้านการเรียนการสอน จากการจัดอันดับโดย สกอ.ในปี [[พ.ศ. 2551]]

ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 รัฐบาลมีนโยบายกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาคและชนบทให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นใน [[พ.ศ. 2527]]ทบวงมหาวิทยาลัยจึงเสนอให้รัฐบาลจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่ในส่วนภูมิภาค 5 แห่ง ได้แก่ภาคเหนือ 1 แห่ง ภาคใต้ 1 แห่ง ภาคตะวันออก 1 แห่ง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 แห่ง ในส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้จัดตั้งวิทยาลัยในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ขึ้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดนครราชสีมา โดยวิทยาลัยที่จัดตั้งขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมาให้ใช้ชื่อว่า“ วิทยาลัยสุรนารี ”และเลือกพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมบริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ประมาณ 7,000 ไร่ เป็นที่ตั้ง

ต่อมารัฐบาลซึ่งมี[[ชาติชาย ชุณหะวัณ]]เป็นนายกรัฐมนตรีได้เล็งเห็นความจำเป็นในการเร่งรัดจัดตั้งมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นในส่วนภูมิภาค เพื่อให้มีศักยภาพและความพร้อมที่จะสนองความต้องการของการพัฒนาประเทศในภูมิภาคต่างๆ ดังนั้นคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2531 จึงมีมติให้ยกฐานะวิทยาลัยในภูมิภาคทั้ง 5 แห่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศพร้อมกันนี้ได้อนุมัติให้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสุรนารีโดยมีปลัดทบวงมหาวิทยาลัย (ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน) เป็นประธานคณะกรรมการฯ ได้จัดทำโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเสนอต่อรัฐบาล พร้อมทั้งเสนอร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่อสภาผู้แทนราษฎรในสมัยประชุม[[พ.ศ. 2532]]

เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2533]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติดังกล่าว และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม 2533 ให้ยกฐานะ "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]  ขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและถือเอาวันที่ 27 กรกฎาคม 2533 เป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยในช่วงเดือนกรกฎาคม 2533 - พฤษภาคม 2536 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาที่ทำการโดยจัดจ้างก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้างและจัดให้มีพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2533 อาคารและสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่แล้วเสร็จทันการเปิดดำเนินการรับนักศึกษาในเดือนพฤษภาคมโดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้านเป็นอธิการบดีผู้ก่อตั้ง

<center>
<gallery>
ไฟล์:Bunnasarn Building.jpg|อาคารบรรณสาร
ไฟล์:Suranaree University Hospital.jpg|โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ไฟล์:B2 Building.jpg|อาคารเรียนรวม 2
ไฟล์:SUT Tree Tunnel.jpg|อุโมงค์ต้นไม้ภายในมหาวิทยาลัย
ไฟล์:Vicharkarn Building.jpg|อาคารวิชาการ
ไฟล์:Suranapa Tower View.jpg|หอสุรนภา
</gallery>
</center>


== สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ==
== สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ==


=== ตราประจำมหาวิทยาลัย ===
=== ตราประจำมหาวิทยาลัย ===
[[ไฟล์:SUT Original.svg|center|150px|ตราประจำมหาวิทยาลัย]]
[[ไฟล์:Sut logo Thai.svg|180px|ตราประจำมหาวิทยาลัย]]
[[ไฟล์:Peep Thong Flower with Leaf.jpg|thumb|ดอกปีบทอง]]
* ภาพ[[ท้าวสุรนารี]] สื่อความหมายถึงปรัชญาและภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยเน้นความเคารพ และศรัทธาต่อท้าวสุรนารีในฐานะวีรสตรีแห่งชาติ
* ภาพ[[ท้าวสุรนารี]] สื่อความหมายถึงปรัชญาและภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยเน้นความเคารพ และศรัทธาต่อท้าวสุรนารีในฐานะวีรสตรีแห่งชาติ
* ภาพเส้นโค้งงอนหงายขนาบ 2 ข้างของภาพข้างละ 4 เส้นเกยและเชื่อมต่อกันเสมือนหนึ่งกระเบื้องมุงหลังคาคร่อมภาพ สื่อความหมายถึงความสำเร็จทางเทคโนโลยีที่ต่อเนื่องกันและความเจริญก้าวหน้าที่ไม่มีที่สิ้นสุด
* ภาพเส้นโค้งงอนหงายขนาบ 2 ข้างของภาพข้างละ 4 เส้นเกยและเชื่อมต่อกันเสมือนหนึ่งกระเบื้องมุงหลังคาคร่อมภาพ สื่อความหมายถึงความสำเร็จทางเทคโนโลยีที่ต่อเนื่องกันและความเจริญก้าวหน้าที่ไม่มีที่สิ้นสุด
บรรทัด 64: บรรทัด 52:


=== ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ===
=== ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ===
[[ไฟล์:Flora Kaslongkam.jpg|130px|ดอกปีบทอง]]
* [[ต้นปีบทอง]] (''Radermachera ignea (Kurz) Steenis'') เป็นไม้ยืนต้นที่ปลูกง่าย ทนทาน โตเร็ว มีทรงพุ่มกว้าง มีดอกสีแสด ซึ่งเป็นสีประจำหาวิทยาลัยสื่อความหมายถึงความเรียบง่าย ความแข็งแกร่ง ความรุดหน้า และความร่มเย็น
* [[ต้นปีบทอง]] (''Radermachera ignea (Kurz) Steenis'') เป็นไม้ยืนต้นที่ปลูกง่าย ทนทาน โตเร็ว มีทรงพุ่มกว้าง มีดอกสีแสด ซึ่งเป็นสีประจำหาวิทยาลัยสื่อความหมายถึงความเรียบง่าย ความแข็งแกร่ง ความรุดหน้า และความร่มเย็น



รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:10, 22 มีนาคม 2561

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ไฟล์:Sut logo Thai.svg
ชื่อย่อมทส. / SUT
คติพจน์ซื่อตรง สุภาพ สะอาด ประหยัด
คือจริยวัตร ของ มทส.
ประเภทสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ
สถาปนา21 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 (33 ปี)
นายกสภาฯศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
อธิการบดีรศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ[1]
อธิการบดีรศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ[1]
ผู้ศึกษา14,924 (ปีการศึกษา 2559) [2]
ที่ตั้ง
สี████ สีแสด สีทอง
เว็บไซต์www.sut.ac.th

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ; Suranaree University of Technology) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 สถาบันสมทบ โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไทย

ประวัติ

  • ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคมพ.ศ. 2533 และได้รับนักศึกษารุ่นแรกปี พ.ศ. 2536[3]
  • มหาวิทยาลัยกลุ่มดีเลิศด้านการวิจัย และกลุ่มดีเด่นด้านการเรียนการสอน จากการจัดอันดับโดย สกอ.ในปี พ.ศ. 2551

ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 รัฐบาลมีนโยบายกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาคและชนบทให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นใน พ.ศ. 2527ทบวงมหาวิทยาลัยจึงเสนอให้รัฐบาลจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่ในส่วนภูมิภาค 5 แห่ง ได้แก่ภาคเหนือ 1 แห่ง ภาคใต้ 1 แห่ง ภาคตะวันออก 1 แห่ง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 แห่ง ในส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้จัดตั้งวิทยาลัยในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขึ้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดนครราชสีมา โดยวิทยาลัยที่จัดตั้งขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมาให้ใช้ชื่อว่า“ วิทยาลัยสุรนารี ”และเลือกพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมบริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ประมาณ 7,000 ไร่ เป็นที่ตั้ง

ต่อมารัฐบาลซึ่งมีชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรีได้เล็งเห็นความจำเป็นในการเร่งรัดจัดตั้งมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นในส่วนภูมิภาค เพื่อให้มีศักยภาพและความพร้อมที่จะสนองความต้องการของการพัฒนาประเทศในภูมิภาคต่างๆ ดังนั้นคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2531 จึงมีมติให้ยกฐานะวิทยาลัยในภูมิภาคทั้ง 5 แห่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศพร้อมกันนี้ได้อนุมัติให้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสุรนารีโดยมีปลัดทบวงมหาวิทยาลัย (ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน) เป็นประธานคณะกรรมการฯ ได้จัดทำโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเสนอต่อรัฐบาล พร้อมทั้งเสนอร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่อสภาผู้แทนราษฎรในสมัยประชุมพ.ศ. 2532

เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติดังกล่าว และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม 2533 ให้ยกฐานะ "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น  ขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและถือเอาวันที่ 27 กรกฎาคม 2533 เป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยในช่วงเดือนกรกฎาคม 2533 - พฤษภาคม 2536 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาที่ทำการโดยจัดจ้างก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้างและจัดให้มีพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2533 อาคารและสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่แล้วเสร็จทันการเปิดดำเนินการรับนักศึกษาในเดือนพฤษภาคมโดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้านเป็นอธิการบดีผู้ก่อตั้ง

ในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับที่ 3 ด้านการวิจัย (ดีเลิศ) และ อันดับที่ 7 ด้านการเรียนการสอน (ดีเยี่ยม) ของประเทศไทย

ในปี พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยได้รับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา (สมศ.) ในกลุ่มมหาวิทยาลัยที่เน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย ให้เป็นอันดับหนึ่งในบรรดามหาวิทยาลัยของรัฐ และเป็นอันดับที่สองของประเทศ

มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงมากทางด้านสาขาวิชาฟิสิกส์ โดยได้รับการจัดอันดับจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้เป็นอันดับหนึ่งของประเทศต่อเนื่องทั้งในปี พ.ศ. 2550 และ 2553 นอกจากนี้สาขาวิชาอื่นที่มีได้รับการจัดอันดับในเกณฑ์สูงได้แก่ สาขาวิชาเคมี สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เป็นต้น มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับอย่างกว้างจากวงการอุตสาหกรรม โดยได้เปิดสอนสาขาวิชาต่าง ๆ ทางด้านวิศวกรรมหลากหลายที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย

มหาวิทยาลัยได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ จาก กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจัดเป็นมหาวิทยาลัยที่มีอายุน้อยที่สุดที่ได้รับการรับเลือก ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีชื่อเสียงเก่าแก่อื่น ๆ และได้รับการจัดอันดับการมีงานทำและศึกษาต่อของบัณฑิตร้อยละ 96 ซึ่งสูงที่สุดในประเทศ [4]

ลานสัญลักษณ์

การจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) ซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อแสดงความตั้งใจของสถาบันต่าง ๆ ในการเผยแพร่ความรู้สู่เว็บไซต์ และเป็นความริเริ่มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความรู้อย่างเปิดกว้าง (Open Access) ทั่วโลก โดยบ่งบอกถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน เพื่อใช้ร่วมกับตัวชี้วัดอื่น ๆ ในการประเมินผลงานวิจัยของสถาบัน ซึ่งทางเว็บโอเมตริกซ์ได้จัดอันดับปีละ 2 ครั้งในเดือนมกราคม และกรกฎาคม ล่าสุดเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อยู่ในอันดับที่ 958 ของโลก และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย[5]

ธงชาติหน้ามหาวิทยาลัย

ปี พ.ศ. 2558 ได้รับการจัดอันดับเป็นที่ 2 ร่วมของประเทศไทยและที่ 601-800 ร่วมของโลก ตามการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของนิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชัน[6], ตีพิมพ์งานวิจัยในนิตยสาร Nature มี Nature Index ลำดับ 2 ของประเทศ[7]และ Nature Publishing Index เป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ[8] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นต้นแบบของการจัดการสหกิจศึกษา (Cooperative Education) ซึ่งจัดให้นักศึกษาได้มีโอกาสไปปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการเป็นเวลาอย่างน้อยหนึ่งภาคการศึกษา ผลการดำเนินงานพบว่าประสบความสำเร็จอย่างสูง ช่วยให้บัณฑิตของมหาวิทยาลัยมีอัตราการได้งานทำสูงที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ และในปี พ.ศ. 2555 มหาวิทยาลัยได้รับเลือกจากคณะกรรมการสมาคมสหกิจศึกษาโลกให้เป็นสำนักงานสำนักงานสหกิจศึกษาภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่ 2.88 จากคะแนนเต็ม 3 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก และได่รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ในกลุ่มการผลิตบัณฑิตและวิจัยในรอบการประเมินที่ 2 เท่ากับ 4.76 จากคะแนนเต็ม 5 อยู่ในระดับดีมาก

สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย

ตราประจำมหาวิทยาลัย

ตราประจำมหาวิทยาลัย

  • ภาพท้าวสุรนารี สื่อความหมายถึงปรัชญาและภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยเน้นความเคารพ และศรัทธาต่อท้าวสุรนารีในฐานะวีรสตรีแห่งชาติ
  • ภาพเส้นโค้งงอนหงายขนาบ 2 ข้างของภาพข้างละ 4 เส้นเกยและเชื่อมต่อกันเสมือนหนึ่งกระเบื้องมุงหลังคาคร่อมภาพ สื่อความหมายถึงความสำเร็จทางเทคโนโลยีที่ต่อเนื่องกันและความเจริญก้าวหน้าที่ไม่มีที่สิ้นสุด
  • ภาพเชิงนามธรรมของพืชพรรณและเฟืองจักร สื่อความหมายถึงการเกษตรและอุตสาหกรรม

ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย

ดอกปีบทอง

  • ต้นปีบทอง (Radermachera ignea (Kurz) Steenis) เป็นไม้ยืนต้นที่ปลูกง่าย ทนทาน โตเร็ว มีทรงพุ่มกว้าง มีดอกสีแสด ซึ่งเป็นสีประจำหาวิทยาลัยสื่อความหมายถึงความเรียบง่าย ความแข็งแกร่ง ความรุดหน้า และความร่มเย็น

สีประจำมหาวิทยาลัย

รายนามอธิการบดี

รายนามอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
รายนามอธิการบดี วาระการดำรงตำแหน่ง อ้างอิง
1. ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน

27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2538 (รักษาการ)
22 ธันวาคม พ.ศ. 2538 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2542(วาระที่ 1)
22 ธันวาคม พ.ศ. 2542 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 (วาระที่ 2)

-
[1]
[2]

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทวี เลิศปัญญาวิทย์

1 สิงหาคม พ.ศ. 2544 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

[3]

3. ศาสตราจารย์ ดร.ประสาท สืบค้า

1 สิงหาคม พ.ศ. 2548 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
1 สิงหาคม พ.ศ. 2552 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
1 สิงหาคม พ.ศ. 2556 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

[4]

4. รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ

1 สิงหาคม พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน

[9]

ภาพถ่ายของมหาวิทยาลัย

ภาพถ่ายของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีทั้งในอดีดและปัจจุบันที่อยู่ในวิกิพีเดีย สามารถนำไปใช้ได้อย่างอิสระโดยไม่ต้องขออนุญาตก่อน

หน่วยงานของรัฐที่ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัย

หน่วยงานภายใน

หลักสูตร

สำนักวิชาวิทยาศาสตร์

สาขาวิชาที่เปิดสอนในสำนักวิชาวิทยาศาสตร์
สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
1. สาขาวิชาเคมี

B.Sc. (Chemistry) (Honors program)

M.Sc. (Chemistry)

Ph.D. (Chemistry)

2. สาขาวิชาคณิตศาสตร์

B.Sc. (Mathematics) (Honors program)

M.Sc. (Applied Mathematics)

Ph.D. (Applied Mathematics)

3. สาขาวิชาชีววิทยา

B.Sc. (Biology) (Honors program)

M.Sc. (Environmental Biology)

Ph.D. (Environmental Biology)

4. สาขาวิชาฟิสิกส์

B.Sc. (Physics) (Honors program)

M.Sc. (Physics)

Ph.D. (Physics)

5. สาขาวิชาการรับรู้จากระยะไกล -

M.Sc. (Remote Sensing)

Ph.D. (Remote Sensing)

6. สาขาวิชาเทคโนโลยีเลเซอร์และโฟตอนนิกส์ -

M.Sc. (Laser Technology and Photonics)

Ph.D. (Laser Technology and Photonics)

7. สาขาวิชาจุลชีววิทยา -

M.Sc. (Microbiology)

Ph.D. (Microbiology)

8. สาขาวิชาชีวเคมี -

M.Sc. (Biochemistry)

Ph.D. (Biochemistry)

9. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา

B.Sc. (Sport Sciences)

- -
10. สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ -

M.Sc. (Biomedical Science )

Ph.D. (Biomedical Science )

สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม

สาขาวิชาที่เปิดสอนในสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
1. สาขาวิชาอังกฤษ -

M.A. (English Lauguage Studies)

Ph.D. (English Lauguage Studies)

2. สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ

B.MGT (Logistics Management)
B.MGT(Marketing Management)
B.MGT (Entrepreneurial Management )

M.MGT (Logistics and Supply Chain Management)
M.MGT (Marketing Management)
M.MGT (Human Resources Management)

-
3. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

B.IS. (Communication)
B.IS. (Management Information Systems)
B.IS. (Information Science)
B.IS. (Enterprise Software)

M.IS. (Digital Media)
M.IS. (Enterprise System)
M.IS. (Knowledge Management)

Doctor of Information Science

หมายเหตุ:

  • B.MGT = Bachelor of Management/ กจ.บ. = การจัดการบัณฑิต
  • M.MGT = Master of Management/ กจ.ม. = การจัดการมหาบัณฑิต
  • B.IS. = Bachelor of Information Sciences/ วส.บ. = วิทยาการสารสนเทศศาสตรบัณฑิต
  • M.IS. = Master of Information Sciences/ วส.บ. = วิทยาการสารสนเทศมหาบัณฑิต

สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์

สาขาวิชาที่เปิดสอนในสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์
สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
1. สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและอาหาร

B.Eng. (Agricultural and Food Engineering)

M.Eng. (Agricultural and Food Engineering)

Ph.D. (Agricultural and Food Engineering)

2. สาขาวิชาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์

B.Eng. (Transportation Engineering and Logistics)

M.Eng. (Transportation Engineering)

Ph.D. (Transportation Engineering)

3. สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

B.Eng. (Computer Engineering)

M.Eng. (Computer Engineering)

Ph.D. (Computer Engineering)

4. สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

B.Eng. (Chemical Engineering)

M.Eng. (Chemical Engineering)

Ph.D. (Chemical Engineering)

5. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

B.Eng. (Mechanical Engineering)
B.Eng. (Manufacturing Engineering)
B.Eng. (Automotive Engineering)
B.Eng. (Aeronautical Engineering)
B.Eng. (Mechatronic Engineering)

M.Eng. (Mechanical Engineering)
M.Eng. (Mechatronic Engineering)

Ph.D. (Mechanical Engineering)

6. สาขาวิชาวิศวกรรมเซรามิก

B.Eng. (Ceramic Engineering)

M.Eng. (Ceramic Engineering)

Ph.D. (Ceramic Engineering)

7. สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม

B.Eng. (Telecommunication Engineering)

M.Eng. (Telecommunication Engineering)

Ph.D. (Telecommunication Engineering)

8. สาขาวิชาวิศวกรรมพอลิเมอร์

B.Eng. (Polymer Engineering)

M.Eng. (Polymer Engineering)

Ph.D. (Polymer Engineering)

9. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

B.Eng. (Electrical Engineering)

M.Eng. (Electrical Engineering)
M.Eng. (Applied Electrical Engineering)

Ph.D. (Electrical Engineering)

10. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

B.Eng. (Civil Engineering)

M.Eng. (Civil Engineering)
M.Eng. (Construction and Infrastructure Management)

Ph.D. (Civil Engineering)

11. สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการ

B.Eng. (Metallurgical Engineering)

M.Eng. (Metallurgical Engineering)

Ph.D. (Metallurgical Engineering)

12. สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

B.Eng. (Environmental Engineering)

M.Eng. (Environmental Engineering)

Ph.D. (Environmental Engineering)

13. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

B.Eng. (Industrial Engineering )

M.Eng. (Industrial Engineering )

Ph.D. (Industrial Engineering )

13. สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี

B.Eng. (Geological Engineering)
B.Eng. (Hydrogeology)
B.Eng. (Petroleum Engineering)

M.Eng. (Geotechnology)

Ph.D. (Geotechnology)

14. หลักสูตรสหวิทยาการ -

M.Eng. (Energy Management)
M.Eng. (Materials Science and Engineering)

-

สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร

สาขาวิชาที่เปิดสอนในสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
1. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

B.Sc. (Crop Production Technology)

M.Sc. (Crop Production Technology)

Ph.D. (Crop Production Technology)

2. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์

B.Sc. (Animal Production Technology)

M.Sc. (Animal Production Technology)

Ph.D. (Animal Production Technology)

3. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ -

M.Sc. (Biotechnology)

Ph.D. (Biotechnology)

4. สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร

B.Sc. (Food Technology)

M.Sc. (Food Technology)

Ph.D. (Food Technology)

สำนักวิชาแพทยศาสตร์

สาขาวิชาที่เปิดสอนในสำนักวิชาแพทยศาสตร์
สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
1. สาขาวิชาแพทยศาสตร์

M.D. (Doctor of Medicine)

- -
- -
- -

สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์

สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
1. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

B.N.S (Bachelor of Nursing Science)

- -

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์

สาขาวิชาที่เปิดสอนในสำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์
สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
1. สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย B.Sc. (Occupational Health and Safety) - -
2. สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม B.Sc. (Environmental Health) - -
3. สาขาวิชามลพิษสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย - -

สถาบันสมทบ

สถาบันการบินพลเรือน

สาขาวิชาที่เปิดสอนในสถาบันการบินพลเรือน (สถาบันสมทบ)
สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
1. สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ

B.TECH (Air Cargo Management)

- -
2. สาขาวิชาการจัดการจราจรทางอากาศ

B.TECH (Air Traffic Management)

- -
3. สาขาวิชาการจัดการท่าอากาศยาน

B.TECH (Airport Management)

- -
4. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์การบิน

B.Sc. (Aviation Electronics)

- -

หมายเหตุ

  • B.TECH = Bachelor of Technology/ ทล.บ. = เทคโนโลยีบัณฑิต

ศิษย์เก่าและบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย

  • ศาสตราจารย์ ดร. วิจิตร ศรีสอ้าน (อธิการบดีผู้ก่อตั้ง, นายกสภามหาวิทยาลัย) อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  • ศาสตราจารย์ ดร. ประสาท สืบค้า (อธิการบดี) ประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย, อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
  • รองศาสตราจารย์ ดร. วีระพงษ์ แพสุวรรณ (อาจารย์ประจำสาขาวิชาฟิสิกส์) ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน(องค์การมหาชน)
  • รองศาสตราจารย์ ดร. ไทย ทิพย์สุวรรณกุล (อาจารย์ประจำสาขาวิชาศึกษาทั่วไป) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • ศาสตราจารย์ มนัส สถิรจินดา (อดีตหัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมโลหการ) ผู้ก่อตั้งสมาคมอุตสาหกรรมหล่อโลหะแห่งประเทศไทย, นักโลหะวิทยาดีเด่น ประจำปี 2550
  • ศาสตราจารย์ ดร. สราวุฒิ สุจิตจร (อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า) ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน(องค์การมหาชน)
  • ศาสตราจารย์ ดร. Joewono Widjaja (อาจารย์ประจำสาขาวิชาเลเซอร์และโฟโตนิกส์) รางวัล Galileo Galilei 2008 ด้าน Optics and Photonics
  • ศาสตราจารย์ ดร. ชูกิจ ลิมปิจำนงค์ (อาจารย์ประจำสาขาวิชาฟิสิกส์) Corbett Prize for Young Scientist 2005, นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2554, รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี 2548
  • ศาสตราจารย์ ดร. สันติ แม้นศิริ (หัวหน้าสาขาวิชาฟิสิกส์) รางวัล TWAS Prize Young Scientists in Thailand สาขาฟิสิกส์ พ.ศ. 2552 จาก Thrid World Academy of Sciences, รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี 2550
  • รองศาสตราจารย์ ดร. พวงรัตน์ ไพเราะ (อาจารย์ประจำสาขาวิชาฟิสิกส์) รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี 2549
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรวัฒน์ มีวาสนา (อาจารย์ประจำสาขาวิชาฟิสิกส์) รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี 2555
  • นางสาว ชาลิตา แย้มวัณณังค์ (ศิษย์เก่าสาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ) Miss Universe Thailand 2013
  • ไพศาล ธัญธาดาลักษณ์ (ศิษย์เก่าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์) นักกีฬาหมากล้อมทีมชาติไทย

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

14°52′47″N 102°01′15″E / 14.8797599°N 102.0207167°E / 14.8797599; 102.0207167