ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูดคุย:กระเทียม"

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{บทความสมุนไพร|ระดับ=โครง}}
{{บทความสมุนไพร|ระดับ=โครง}}
{{บทความพฤกษา|ระดับ=}}
{{บทความพฤกษา|ระดับ=โครง}}
{{บทความเภสัชกรรม|ระดับ=โครง}}


ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium sativum Linn.
ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium sativum Linn.

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:19, 21 มีนาคม 2561

กระเทียม เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสมุนไพรและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสมุนไพร ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กระเทียม หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
กระเทียม เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิพฤกษาและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับพืชและพฤกษศาสตร์ ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กระเทียม หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
กระเทียม เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิเภสัชกรรมและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับศาสตร์ทางเภสัชกรรม อาทิ ยา เครื่องยา สมุนไพร ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สารเคมีที่นำมาปรุงแต่งเป็นยา กระบวนการผลิตและบริหารด้านยา ตลอดจนศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กระเทียม หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium sativum Linn. วงศ์ Alliaceae ชื่อท้องถิ่น หอมดเทียม (ภาคเหนือ) เทียน หัวเทียน (ภาคใต้) กระเทียมขาว หอมขาว (อุดรธานี) กระเทียม(ภาคกลาง)

ลักษณะของพืช » กระเทียม เป็นพืชล้มลุกที่มีลำต้นใต้ดิน เรียกว่าหัว หัวมีกลีบย่อยหลายกลีบ ติดกันแน่น เนื้อสีขาว มีกลิ่นฉุนเฉพาะบางครั้งในหัวมีกลีบเดียว เรียกว่า กระเทียมโทน หัวค่อนข้างกลมใบยาวแบน ปลายแหลม ภายในกลวง ดอกรวมกันเป็นกระจุกที่ปลายก้านช่อ ดอกสีขาวเหลืองอมชมพูม่วงผลมีขนาดเล็ก รสและสรรพคุณยาไทย  » รสเผ็ดร้อน เป็นยาขับลมในลำไส้ แก้กลากเกลื้อน แก้ไอ ขับเสมหะ คุณค่าทางอาหาร  » ใช้ปรุงรสอาหารได้เป็นอย่างดี มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส กำมะถัน ไขมัน โปรตีน วิตามิน เอ

ช่วยย่อยอาหาร