ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ''' ({{lang-en|crime against humanity}}) เป็นการซึ่งกระทำลงโดยไตร่ตรองไว้ก่อน เป็นส่วนหนึ่งของการโจมตีอย่างเป็นระบบหรือเป็นวงกว้าง หรือการโจมตีแบบเอกเทศ ต่อบุคคลพลเรือนคนใด ๆ หรือต่อกลุ่มคนที่ระบุตัวได้ในหมู่ประชากรพลเรือน การดำเนินคดีอาชญากรรมต่อมนุษยชาติเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นใน[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก|คดีเนือร์นแบร์ก]] และนับแต่นั้น การดำเนินคดีอาชญากรรมดังกล่าวก็กลายเป็นหน้าที่ของศาลระหว่างประเทศ เช่น [[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]], [[คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวีย]], และ[[ศาลอาญาระหว่างประเทศ]] แต่การดำเนินคดีโดยศาลในประเทศก็มีบ้าง กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมต่อมนุษยชาตินั้นพัฒนาขึ้นผ่านวิวัฒนาการของ[[กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ]] อาชญากรรมชนิดนี้ยังไม่มีบัญญัติไว้ในกฎหมายระหว่างประเทศฉบับใด ๆ แต่[[องค์การระหว่างประเทศ]] ซึ่งมีโครงการ[[ริเริ่มกฎหมายอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ]] (Crimes Against Humanity Initiative) เป็นโต้โผ พยายามที่จะสร้างกฎหมายดังกล่าวให้ได้ในเร็ววัน
'''อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ''' ({{lang-en|crime against humanity}}) เป็นการซึ่งกระทำลงโดยไตร่ตรองไว้ก่อน เป็นส่วนหนึ่งของการโจมตีอย่างเป็นระบบหรือเป็นวงกว้าง หรือการโจมตีแบบเอกเทศ ต่อบุคคลพลเรือนคนใด ๆ หรือต่อกลุ่มคนที่ระบุตัวได้ในหมู่ประชากรพลเรือน การดำเนินคดีอาชญากรรมต่อมนุษยชาติเกิดขึ้นครั้งแรกใน[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก|คดีเนือร์นแบร์ก]] และนับแต่นั้น การดำเนินคดีอาชญากรรมดังกล่าวก็กลายเป็นหน้าที่ของศาลระหว่างประเทศ เช่น [[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]], [[คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวีย]], และ[[ศาลอาญาระหว่างประเทศ]] แต่การดำเนินคดีโดยศาลในประเทศก็มีบ้าง กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมต่อมนุษยชาตินั้นพัฒนาขึ้นผ่านวิวัฒนาการของ[[กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ]] อาชญากรรมชนิดนี้ยังไม่มีบัญญัติไว้ในกฎหมายระหว่างประเทศฉบับใด ๆ แต่[[องค์การระหว่างประเทศ]] ซึ่งมีโครงการ[[ริเริ่มกฎหมายอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ]] (Crimes Against Humanity Initiative) เป็นโต้โผ พยายามที่จะสร้างกฎหมายดังกล่าวให้ได้ในเร็ววัน


อาชญากรรมต่อมนุษยชาติต่างจาก[[อาชญากรรมสงคราม]]ตรงที่อาชญากรรมต่อมนุษยชาติจะเกิดในยามสงครามหรือในเวลาอื่นก็ได้<ref>Margaret M. DeGuzman,[http://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=1745183 "Crimes Against Humanity"] RESEARCH HANDBOOK ON INTERNATIONAL CRIMINAL LAW, Bartram S. Brown, ed., Edgar Elgar Publishing, 2011</ref> แต่ไม่ใช่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยตัวเองหรือเกิดนานทีปีหน หากแต่เป็นเหตุการณ์ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายของรัฐ หรือเป็นส่วนหนึ่งของความโหดร้ายป่าเถื่อนที่กระทำเป็นวงกว้าง แล้วรัฐเพิกเฉยหรือไม่เอาโทษ ความผิดอาญา อย่างเช่น อาชญากรรมสงคราม, [[การฆ่าคน]], [[การสังหารหมู่]], [[การลดความเป็นมนุษย์]], [[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์]], [[การกวาดล้างชาติพันธุ์]], [[การเนรเทศ]], [[การทดลองมนุษย์โดยผิดจรรยาบรรณ]], [[วิสามัญฆาตกรรม]], [[การประหารแบบรวบรัด]], การใช้[[อาวุธทำลายล้างสูง]], [[การก่อการร้ายของรัฐ]], [[การก่อการร้ายที่รัฐสนับสนุน]], การใช้[[death squad|หมู่สังหาร]], [[การลักพา]], [[การบังคับให้บุคคลสูญหาย]], [[การใช้เด็กทางทหาร]], [[การกักกัน]], [[ทาส|การเอาคนลงเป็นทาส]], [[ความนิยมกินเนื้อมนุษย์ในมนุษย์|การกินเนื้อมนุษย์]], [[การทรมาน]], [[การข่มขืนกระทำชำเรา]], [[การเบียดเบียนทางการเมือง]], [[คตินิยมเชื้อชาติเชิงสถาบัน|การเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเชื้อชาติ]], และ[[การละเมิดสิทธิมนุษยชน]] อาจเข้าข่ายอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ถ้าเป็นส่วนหนึ่งของการกระทำอย่างเป็นระบบหรือเป็นวงกว้าง
อาชญากรรมต่อมนุษยชาติต่างจาก[[อาชญากรรมสงคราม]]ตรงที่อาชญากรรมต่อมนุษยชาติจะเกิดในยามสงครามหรือในเวลาอื่นก็ได้<ref>Margaret M. DeGuzman,[http://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=1745183 "Crimes Against Humanity"] RESEARCH HANDBOOK ON INTERNATIONAL CRIMINAL LAW, Bartram S. Brown, ed., Edgar Elgar Publishing, 2011</ref> แต่ไม่ใช่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยตัวเองหรือเกิดนานทีปีหน หากแต่เป็นเหตุการณ์ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายของรัฐ หรือเป็นส่วนหนึ่งของความโหดร้ายป่าเถื่อนที่กระทำเป็นวงกว้าง แล้วรัฐเพิกเฉยหรือไม่เอาโทษ ความผิดอาญา อย่างเช่น อาชญากรรมสงคราม, [[การฆ่าคน]], [[การสังหารหมู่]], [[การลดความเป็นมนุษย์]], [[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์]], [[การกวาดล้างชาติพันธุ์]], [[การเนรเทศ]], [[การทดลองมนุษย์โดยผิดจรรยาบรรณ]], [[วิสามัญฆาตกรรม]], [[การประหารแบบรวบรัด]], การใช้[[อาวุธทำลายล้างสูง]], [[การก่อการร้ายของรัฐ]], [[การก่อการร้ายที่รัฐสนับสนุน]], การใช้[[death squad|หมู่สังหาร]], [[การลักพา]], [[การบังคับให้บุคคลสูญหาย]], [[การใช้เด็กทางทหาร]], [[การกักกัน]], [[ทาส|การเอาคนลงเป็นทาส]], [[ความนิยมกินเนื้อมนุษย์ในมนุษย์|การกินเนื้อมนุษย์]], [[การทรมาน]], [[การข่มขืนกระทำชำเรา]], [[การเบียดเบียนทางการเมือง]], [[คตินิยมเชื้อชาติเชิงสถาบัน|การเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเชื้อชาติ]], และ[[การละเมิดสิทธิมนุษยชน]] อาจเข้าข่ายอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ถ้าเป็นส่วนหนึ่งของการกระทำอย่างเป็นระบบหรือเป็นวงกว้าง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:48, 18 มีนาคม 2561

อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ (อังกฤษ: crime against humanity) เป็นการซึ่งกระทำลงโดยไตร่ตรองไว้ก่อน เป็นส่วนหนึ่งของการโจมตีอย่างเป็นระบบหรือเป็นวงกว้าง หรือการโจมตีแบบเอกเทศ ต่อบุคคลพลเรือนคนใด ๆ หรือต่อกลุ่มคนที่ระบุตัวได้ในหมู่ประชากรพลเรือน การดำเนินคดีอาชญากรรมต่อมนุษยชาติเกิดขึ้นครั้งแรกในคดีเนือร์นแบร์ก และนับแต่นั้น การดำเนินคดีอาชญากรรมดังกล่าวก็กลายเป็นหน้าที่ของศาลระหว่างประเทศ เช่น ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ, คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวีย, และศาลอาญาระหว่างประเทศ แต่การดำเนินคดีโดยศาลในประเทศก็มีบ้าง กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมต่อมนุษยชาตินั้นพัฒนาขึ้นผ่านวิวัฒนาการของกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ อาชญากรรมชนิดนี้ยังไม่มีบัญญัติไว้ในกฎหมายระหว่างประเทศฉบับใด ๆ แต่องค์การระหว่างประเทศ ซึ่งมีโครงการริเริ่มกฎหมายอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ (Crimes Against Humanity Initiative) เป็นโต้โผ พยายามที่จะสร้างกฎหมายดังกล่าวให้ได้ในเร็ววัน

อาชญากรรมต่อมนุษยชาติต่างจากอาชญากรรมสงครามตรงที่อาชญากรรมต่อมนุษยชาติจะเกิดในยามสงครามหรือในเวลาอื่นก็ได้[1] แต่ไม่ใช่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยตัวเองหรือเกิดนานทีปีหน หากแต่เป็นเหตุการณ์ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายของรัฐ หรือเป็นส่วนหนึ่งของความโหดร้ายป่าเถื่อนที่กระทำเป็นวงกว้าง แล้วรัฐเพิกเฉยหรือไม่เอาโทษ ความผิดอาญา อย่างเช่น อาชญากรรมสงคราม, การฆ่าคน, การสังหารหมู่, การลดความเป็นมนุษย์, การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์, การกวาดล้างชาติพันธุ์, การเนรเทศ, การทดลองมนุษย์โดยผิดจรรยาบรรณ, วิสามัญฆาตกรรม, การประหารแบบรวบรัด, การใช้อาวุธทำลายล้างสูง, การก่อการร้ายของรัฐ, การก่อการร้ายที่รัฐสนับสนุน, การใช้หมู่สังหาร, การลักพา, การบังคับให้บุคคลสูญหาย, การใช้เด็กทางทหาร, การกักกัน, การเอาคนลงเป็นทาส, การกินเนื้อมนุษย์, การทรมาน, การข่มขืนกระทำชำเรา, การเบียดเบียนทางการเมือง, การเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเชื้อชาติ, และการละเมิดสิทธิมนุษยชน อาจเข้าข่ายอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ถ้าเป็นส่วนหนึ่งของการกระทำอย่างเป็นระบบหรือเป็นวงกว้าง

อ้างอิง

  1. Margaret M. DeGuzman,"Crimes Against Humanity" RESEARCH HANDBOOK ON INTERNATIONAL CRIMINAL LAW, Bartram S. Brown, ed., Edgar Elgar Publishing, 2011