ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชินวุธ สุนทรสีมะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
| spouse =
| spouse =
}}
}}
'''พันเอก ดร.ชินวุธ สุนทรสีมะ''' เป็นอดีต[[รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี]] ในรัฐบาลนาย[[ชวน หลีกภัย]] (ชวน 1)<ref>[http://www.cabinet.thaigov.go.th/cab_50.htm คณะรัฐมนตรี คณะที่ 52]</ref> ในสัดส่วนของ[[พรรคพลังธรรม]] และเป็นอดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] 2 สมัย
'''พันเอก ชินวุธ สุนทรสีมะ''' เป็นอดีต[[รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี]] ในรัฐบาลนาย[[ชวน หลีกภัย]] (ชวน 1)<ref>[http://www.cabinet.thaigov.go.th/cab_50.htm คณะรัฐมนตรี คณะที่ 52]</ref> ในสัดส่วนของ[[พรรคพลังธรรม]] และเป็นอดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] 2 สมัย


พ.อ.ชินวุธเป็นนักเรียนนายร้อยเทคนิคหลักสูตร 5 ปี รุ่นที่ 10 (เข้าศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2486)<ref>[http://www.siamrath.co.th/web/?q=%E0%B8%97%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2-3-%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B3 ทหารประชาธิปไตย (3) : แกนนำ]</ref> นอกจากงานราชการทหาร และงานการเมือง นอกจากนี้แล้วยังมีผลงานเขียนหนังสือ ตำราอีกจำนวนมาก ทั้งด้านเศรษฐศาสตร์ และผลงานวิชาการเกี่ยวกับหลักการวิจัย วิทยานิพนธ์
พ.อ.ชินวุธเป็นนักเรียนนายร้อยเทคนิคหลักสูตร 5 ปี รุ่นที่ 10 (เข้าศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2486)<ref>[http://www.siamrath.co.th/web/?q=%E0%B8%97%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2-3-%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B3 ทหารประชาธิปไตย (3) : แกนนำ]</ref> นอกจากงานราชการทหาร และงานการเมือง นอกจากนี้แล้วยังมีผลงานเขียนหนังสือ ตำราอีกจำนวนมาก ทั้งด้านเศรษฐศาสตร์ และผลงานวิชาการเกี่ยวกับหลักการวิจัย วิทยานิพนธ์

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:42, 17 มีนาคม 2561

ชินวุธ สุนทรสีมะ
ไฟล์:Chinnawut sunthornsima.jpg
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
29 กันยายน พ.ศ. 2535 – 25 ตุลาคม พ.ศ. 2537
นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย

พันเอก ชินวุธ สุนทรสีมะ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1)[1] ในสัดส่วนของพรรคพลังธรรม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย

พ.อ.ชินวุธเป็นนักเรียนนายร้อยเทคนิคหลักสูตร 5 ปี รุ่นที่ 10 (เข้าศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2486)[2] นอกจากงานราชการทหาร และงานการเมือง นอกจากนี้แล้วยังมีผลงานเขียนหนังสือ ตำราอีกจำนวนมาก ทั้งด้านเศรษฐศาสตร์ และผลงานวิชาการเกี่ยวกับหลักการวิจัย วิทยานิพนธ์

งานการเมือง

พ.อ.ชินวุธ เป็นนักการเมืองในสังกัดพรรคพลังธรรม เคยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 และได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย[3] เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2535 ต่อมาได้ลาออกในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2537[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. คณะรัฐมนตรี คณะที่ 52
  2. ทหารประชาธิปไตย (3) : แกนนำ
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๘ ราย)
  4. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก (พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ พันเอก ชินวุธ สุนทรสิมะ นายฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย นายเด่น โต๊ะมีนา)
  5. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ชั้นสายสะพาย สมาชิกวุฒิสภา เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษร วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๗)
  6. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา รวมทั้งสิ้น ๓,๑๙๒ ราย เล่ม ๑๑๐ ตอน ๒๐๐ ง ฉบับพิเศษ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ หน้า ๑