ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบุกครองยูโกสลาเวีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| image = [[ไฟล์:Invasion of Yugoslavia lines of attack Why We Fight no. 5.jpg|300px]]
| image = [[ไฟล์:Invasion of Yugoslavia lines of attack Why We Fight no. 5.jpg|300px]]
| caption = ภาพประกอบของการรุกรานของฝ่ายอักษะในซีรีส์ ''[[Why We Fight]]''
| caption = ภาพประกอบของการรุกรานของฝ่ายอักษะในซีรีส์ ''[[Why We Fight]]''
| partof = [[Balkans Campaign (World War II)|ปฏิบัติการบอลข่าน]] ใน [[สงครามโลกครั้งที่ 2]]
| partof = [[การทัพบอลข่าน (สงครามโลกครั้งที่สอง)|ปฏิบัติการบอลข่าน]] ใน [[สงครามโลกครั้งที่ 2]]
| place = [[Kingdom of Yugoslavia|ยูโกสลาเวีย]]
| place = [[Kingdom of Yugoslavia|ยูโกสลาเวีย]]
| date = 6–18 เมษายน ค.ศ. 1941
| date = 6–18 เมษายน ค.ศ. 1941

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:32, 13 มีนาคม 2561

การบุกครองยูโกสลาเวีย
ส่วนหนึ่งของ ปฏิบัติการบอลข่าน ใน สงครามโลกครั้งที่ 2

ภาพประกอบของการรุกรานของฝ่ายอักษะในซีรีส์ Why We Fight
วันที่6–18 เมษายน ค.ศ. 1941
สถานที่
ผล

อักษะได้รับชัยชนะ

  • ยึดยูโกสลาเวียได้
  • ทำให้ยูโกสลาเวียเข้าร่วมฝ่ายอักษะ
  • ทำให้เกิดรัฐหุ่นเชิดในยูโกสลาเวีย
คู่สงคราม
 ยูโกสลาเวีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
นาซีเยอรมัน:
ทหาร 337,096 คน
รถถัง 875 คัน
เครื่องบิน 990 ลำ
อิตาลี:
ทหาร 22 กองพล
เครื่องบิน 666 ลำ[1]
ฮังการี:
ทหาร 9 กองพลน้อย
6 ฝูงบิน
ทหาร 700,000 คน (400,000 คนเป็นทหารที่ได้รับการฝึกน้อย[2])
รถถัง110[3]–200[4] คัน (รถถัง 50[4]–54 คัน[3] เป็นรถถังทันสมัย)
เครื่องบินประจำแนวหน้า 405[4]–450[5] ลำ (เครื่องบิน 220[4]–340 ลำ[5] เป็นเครื่องบินทันสมัย)
ความสูญเสีย
นาซีเยอรมัน:
151 เสียชีวิต
392 บาดเจ็บ
15 สูญหาย
40 ถูกยิงโดยอากาศยาน
อิตาลี:
3,324 เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ
10+ ถูกยิงโดยอากาศยาน, 22 เสียชีวิตจากกับระเบิด.
ฮังการี:
120 เสียชีวิต
223 บาดเจ็บ
13 สูญหาย
7 ถูกยิงโดยอากาศยาน
ประชาชนและทหารเสียชีวิตประมาณ 1000 คน
254,000–345,000 คนถูกจับโดยเยอรมัน, 30,000 คนโดยอิตาลี
49 คนถูกยิงโดยอากาศยาน, 103 นักบินและลูกเรือเสียชีวิต
เครื่องบิน 210–300 ลำถูกยึด[6]
เรือพิฆาต 3 ลำและเรือดำน้ำ 3 ลำถูกยึด
แม่แบบ:Campaignbox Balkans Campaign

การบุกครองยูโกสลาเวีย, หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สงครามเดือนเมษายน เรื่มขึ่นเมื่อ เยอรมนี เปิดฉากโจมตี ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ร่วมกับ ฝ่ายอักษะ โดยเริ่มขึ้นในวันที่ 6 เมษายน 1941 ในช่วง สงครามโลกครั้งที่สอง หลังเกิด รัฐประหารยูโกสลาเวีย เมื่อหลายวันก่อนหน้า[7]

ยูโกสลาเวียดำรงความเป็นกลางในสงครามโลกครั้งที่ 2 มาได้เกือบ 2 ปี แต่เมื่อเดือนมีนาคมปี 1941 เจ้าชาย Paul ถูกบีบบังคับให้เซ็นสัญญาเป็นพันธมิตรกับฝ่ายอักษะ ทำให้เกิดการโค่นล้มอำนาจของพระองค์เพื่อปฏิเสธการเป็นพันธมิตรกับอักษะในเบลเกรด และ องค์มกุฏราชกุมารได้ถูกยกขึ้นมาเป็นพระเจ้า Peter II ปกครองยูโกสลาเวียแทน ฝ่ายอักษะจึงเข้าโจมตียูโกสลาเวียและแยกดินแดนยูโกสลาเวียเป็นส่วนๆแบ่งสรรกันในหมู่ฝ่ายอักษะ (อิตาลี เยอรมนี บัลแกเรีย ฮังการี โรมาเนีย แอลเบเนีย) แต่ที่สำคัญคือยกกลุ่ม Ustaša ให้ขึ้นมาเป็นรัฐบาลปกครองรัฐเอกราชโครเอเชีย (Independent State of Croatia)  

เบื้องหลัง

ในช่วงตุลาคม ค.ศ.1940 ราชอาณาจักรอิตาลีได้โจมตีราชอาณาจักรกรีซ ก่อนจะถอยกลับเข้าไปในราชอาณาจักรอัลเบเนีย ผู้นำแห่งเยอรมันอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้ตัดสินใจที่จะส่งกำลังเพื่อเข้าไปช่วยพันธมิตรของเขา ผู้นำอิตาลีเบนิโต มุสโสลินี ฮิตเลอร์ไม่เพียงต้องการกอบกู้ศักดิ์ศรีของฝ่ายอักษะหลังความพ่ายแพ้ในยุทธการบริเตนเท่านั้นแต่ต้องการหยุดการทิ้งระเบิดของอังกฤษในบ่อน้ำมันที่โรมาเนียและครอบครองบ่อน้ำมันนั้นด้วย[8]

ในค.ศ.1940และช่วงต้นปีค.ศ.1941ราชอาณาจักรฮังการี,ราชอาณาจักรโรมาเนียและราชอาณาจักรบัลแกเรียได้ทำการเข้าร่วมกติกาสัญญาไตรภาคีของฝ่ายอักษะและฮิตเลอร์ก็ได้ทำการกดดันให้ยูโกสลาเวียเข้าร่วม หลังจากนั้นผู้แทนของเจ้าชายพอลได้ประกาศว่าจะนำยูโกสลาเวียเข้าร่วมกับฝ่ายอักษะในวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ.1941[9] ซึ่งทำให้นายทหารชาวเซิร์บรวมถึงประชาชนบางส่วนไม่พอใจโดยเฉพาะชาวเซิร์บ เช่น ฝ่ายประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์[10] นายทหาร(ชาวเซิร์บ)ได้ทำการรัฐประหารในวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ.1941 และทำการปลดออกจากตำแหน่งขณะกำลังเข้าใกล้ช่วงเฉลิมพระชนม์ของกษัตริย์ปีเตอร์ที่สองในอีกหนึ่งเดือนข้างหน้า[11]

อ้างอิง

  1. Zajac 1993, p. 50.
  2. Tomasevich 1975, p. 64.
  3. 3.0 3.1 Tomasevich 1975, p. 59.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 Zajac 1993, p. 47.
  5. 5.0 5.1 Shores, Cull & Malizia 1987, p. 260.
  6. Shores, Cull & Malizia 1987, p. 310.
  7. Tomasevich 1975, p. 55.
  8. Tomasevich 1969, p. 64.
  9. Tomasevich 1975, p. 39.
  10. Tomasevich 1975, p. 41.
  11. Tomasevich 1975, p. 43–47.