ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาธารณรัฐประชาชนตูวา"

พิกัด: 51°41′53″N 94°23′24″E / 51.698°N 94.390°E / 51.698; 94.390
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 57: บรรทัด 57:


{{coord|51.698|N|94.390|E|display=title|source:dewiki}}
{{coord|51.698|N|94.390|E|display=title|source:dewiki}}

{{สังคมนิยมแบ่งตามประเทศ}}


[[หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสหภาพโซเวียต]]
[[หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสหภาพโซเวียต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:14, 5 มีนาคม 2561

สาธารณรัฐประชาชนตูวา

Tьva Arat Respuвlik
1921–1944
ธงชาติตูวา
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของตูวา
ตราแผ่นดิน
ที่ตั้งของตูวา
สถานะรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต
เมืองหลวงKyzyl
ภาษาทั่วไป
ศาสนา
การปกครองMarxist-Leninist single-party socialist republic
Chairman 
Prime Minister 
ยุคประวัติศาสตร์สมัยระหว่างสงคราม
• ก่อตั้ง
14 สิงหาคม 1921
• ถูกผนวก
11 ตุลาคม 1944
พื้นที่
1944170,500 ตารางกิโลเมตร (65,800 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1944
95400
สกุลเงินTuvan akşa
ก่อนหน้า
ถัดไป
Tannu Uriankhai
แคว้นปกครองตนเองตูวาน
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ รัสเซีย
Location of the Tuvan People's Republic (modern boundaries).

สาธารณรัฐประชาชนตูวา หรือ สาธารณรัฐประชาชนเตนนู ตูวา (ตูวาน: Tьva Arat Respuвlik, Тыва Арат Республик, Tywa Arat Respublik, təˈʋɑ ɑˈrɑt risˈpublik; 1921–44) เป็นสาธารณรัฐเอกราชที่แยกตัวออกมาจาก Tuvan protectorate จากจักรวรรดิรัสเซียหรือเป็นที่รู้จักว่า Uryankhaisky Krai (รัสเซีย: Урянхайский край)

ในช่วงที่ตูวาเป็นเอกราชในปี 1921 ถึง 1944 [1] ตูวาได้เป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียได้ควบคุมรัฐนี้ก่อนที่[2][3]ตูวา จะเข้ารวมสหภาพโซเวียตในปี 1944

ปัจจุบันดินแดนในอดีตของเตนู ตูวากลายเป็นส่วนหนึ่งของ สาธารณรัฐตูวา ชึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐรัสเซีย

อ้างอิง

  1. Toomas Alatalu (1992). "Tuva: a State Reawakens". Soviet Studies. 44 (5): 881–895. JSTOR 152275.
  2. Dallin, David J. Soviet Russia and the Far East, Yale University Press, 1948, p. 87
  3. Paine, S.C.M. Imperial Rivals: China, Russia, and Their Disputed Frontier, M.E. Sharpe, 1996, p. 329.

แหล่งข้อมูลอื่น

51°41′53″N 94°23′24″E / 51.698°N 94.390°E / 51.698; 94.390