ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนมหรรณพ"

พิกัด: 13°45′12″N 100°30′02″E / 13.753235°N 100.500678°E / 13.753235; 100.500678
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7489068 สร้างโดย JBot (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ถนนมหรรณพ''' ({{lang-roman|Thanon Mahannop}}) เป็นถนนสายสำคัญใน[[เขตพระนคร]]ที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนานมากสายหนึ่งในบรรดาถนนเก่าแก่ในกรุงเทพมหานครที่มีอยู่ทั้งหมด ถนนมหรรณพเป็นถนนที่เชื่อม[[ถนนตะนาว]]กับ[[ถนนดินสอ]]ไว้ด้วยกัน เป็นถนนสายสั้น ๆ โดยมีจุดเริ่มต้นที่ถนนดินสอบริเวณ[[#ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร#กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) |ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร]] ไปสิ้นสุดที่[[ศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร]] ปัจจุบันเป็นทำเลที่ตั้งของร้านอาหารต่าง จำนวนมาก
'''ถนนมหรรณพ''' ({{lang-roman|Thanon Mahannop}}) เป็นถนนสายหนึ่งใน[[เขตพระนคร]] ถนนมหรรณพเป็นถนนที่เชื่อม[[ถนนตะนาว]]กับ[[ถนนดินสอ]]ไว้ด้วยกัน เป็นถนนสายสั้น ๆ โดยมีจุดเริ่มต้นที่ถนนดินสอบริเวณ[[#ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร#กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) |ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร]] ไปสิ้นสุดที่[[ศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร]] เป็นถนนที่สร้างขึ้นในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อปี พ.ศ. 2460 หลังจากเกิดเหตุเพลิงไหม้ที่ถนนตะนาว มหาอำมาตย์เอก [[เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)]] เสนาบดีกระทรวงนครบาล ได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลว่า ราษฎรปลูกบ้านเรือนเบียดเสียดแออัดและไม่มีถนนที่จะให้เจ้าหน้าที่ไปช่วยเหลือได้ทันที จึงเห็นว่าควรที่จะมีถนนอีกสายหนึ่งเพื่อประโยชน์ในการสัญจรและเพื่อการระงับเหตุภัยที่อาจเกิดขึ้นได้ท่วงที พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงนครบาลจัดการตัดถนนขึ้นมาโดยเลือกบริเวณที่เกิดเหตุเพลิงไม้ที่บริเวณตลาดเสาชิงช้า และทรงพระราชทานนามว่า "ถนนมหรรณพ"

ปัจจุบัน ถนนมหรรณพเป็นทำเลที่ตั้งของร้านอาหารต่าง ๆ จำนวนมาก เช่นเดียวกับถนนดินสอ, ถนนตะนาว หรือ[[ถนนแพร่งภูธร]] และ[[ถนนแพร่งนรา]] ที่อยู่บริเวณใกล้เคียง


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
*{{cite web|url=https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=golfgappe&month=07-01-2008&group=2&gblog=3|title=ใครที่ชอบ กิน เที่ยว ทำบุญ ต้องรักถนนมหรรณพแน่เลย|work=บล็อกแก๊งดอตคอม|date=2008-01-07}}
*{{cite web|url=https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=golfgappe&month=07-01-2008&group=2&gblog=3|title=ใครที่ชอบ กิน เที่ยว ทำบุญ ต้องรักถนนมหรรณพแน่เลย|work=บล็อกแก๊งดอตคอม|date=2008-01-07}}
*{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=x8e_LZJSe_A|title=CHN 189 ถนนมหรรณพ|date=2010-12-29|work=ชื่อนั้นสำคัญไฉน?}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|13.753235|100.500678}}
*{{geolinks-bldg|13.753235|100.500678}}
บรรทัด 10: บรรทัด 13:
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตพระนคร]]
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตพระนคร]]
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร]]
{{สร้างปี|2460}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:46, 4 มีนาคม 2561

ถนนมหรรณพ (อักษรโรมัน: Thanon Mahannop) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตพระนคร ถนนมหรรณพเป็นถนนที่เชื่อมถนนตะนาวกับถนนดินสอไว้ด้วยกัน เป็นถนนสายสั้น ๆ โดยมีจุดเริ่มต้นที่ถนนดินสอบริเวณศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ไปสิ้นสุดที่ศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร เป็นถนนที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2460 หลังจากเกิดเหตุเพลิงไหม้ที่ถนนตะนาว มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เสนาบดีกระทรวงนครบาล ได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลว่า ราษฎรปลูกบ้านเรือนเบียดเสียดแออัดและไม่มีถนนที่จะให้เจ้าหน้าที่ไปช่วยเหลือได้ทันที จึงเห็นว่าควรที่จะมีถนนอีกสายหนึ่งเพื่อประโยชน์ในการสัญจรและเพื่อการระงับเหตุภัยที่อาจเกิดขึ้นได้ท่วงที พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงนครบาลจัดการตัดถนนขึ้นมาโดยเลือกบริเวณที่เกิดเหตุเพลิงไม้ที่บริเวณตลาดเสาชิงช้า และทรงพระราชทานนามว่า "ถนนมหรรณพ"

ปัจจุบัน ถนนมหรรณพเป็นทำเลที่ตั้งของร้านอาหารต่าง ๆ จำนวนมาก เช่นเดียวกับถนนดินสอ, ถนนตะนาว หรือถนนแพร่งภูธร และถนนแพร่งนรา ที่อยู่บริเวณใกล้เคียง

อ้างอิง

  • "ใครที่ชอบ กิน เที่ยว ทำบุญ ต้องรักถนนมหรรณพแน่เลย". บล็อกแก๊งดอตคอม. 2008-01-07.
  • "CHN 189 ถนนมหรรณพ". ชื่อนั้นสำคัญไฉน?. 2010-12-29.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°45′12″N 100°30′02″E / 13.753235°N 100.500678°E / 13.753235; 100.500678