ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานชุมพร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wirawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Krijthanaphat penbunprasert (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 43: บรรทัด 43:
| [[นกแอร์]] || [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพฯ-ดอนเมือง]] || '''ภายในประเทศ'''
| [[นกแอร์]] || [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพฯ-ดอนเมือง]] || '''ภายในประเทศ'''
|-
|-
| [[ไทยแอร์เอเชีย]] || [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพฯ-ดอนเมือง]] || '''ภายในประเทศ'''*(เริ่มให้บริการ 25 มีนาคม 2561)
| [[ไทยแอร์เอเชีย]] || [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพฯ-ดอนเมือง]] || '''ภายในประเทศ''' '''*(เริ่มทำการบิน 25 มีนาคม 2561)*'''
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:55, 3 มีนาคม 2561

ท่าอากาศยานชุมพร
  • IATA: CJM
  • ICAO: VTSE
    CJMตั้งอยู่ในประเทศไทย
    CJM
    CJM
    ตำแหน่งของสนามบินในประเทศไทย
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสนามบินพาณิชย์
พิกัด10°42′40.32″N 099°21′42.14″E / 10.7112000°N 99.3617056°E / 10.7112000; 99.3617056
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
06/24 2,100 6,890 ลาดยาง
สถิติ (2560)
ผู้โดยสาร87,707
เที่ยวบิน3,146
แหล่งข้อมูล: http://www.aviation.go.th

ท่าอากาศยานชุมพร หรือ สนามบินชุมพร (อังกฤษ: Chumphon Airport) ตั้งอยู่ที่ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม[1]

ประวัติ

ท่าอากาศยานชุมพร ก่อสร้างตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 เพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจของจังหวัดชุมพร หลังประสบภัยพายุไต้ฝุ่นเกย์ (เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2532) เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2537 และเปิดทำการบินครั้งแรก เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2541 ใช้งบประมาณ 530 ล้านบาท และได้รับการประกาศเป็นสนามบินศุลกากร เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2543 ตั้งอยู่ในเขตตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร มีพื้นที่รวม 2,485 ไร่ ห่างตัวเมืองชุมพรไปทางทิศเหนือประมาณ 38 ก.ม. มีสายการบินนกแอร์เป็นสายการบินทีให้บริการอยู่ณ ปัจจุบันนี้

รายชื่อสายการบิน

สายการบิน จุดหมายปลายทาง[2] หมายเหตุ
นกแอร์ กรุงเทพฯ-ดอนเมือง ภายในประเทศ
ไทยแอร์เอเชีย กรุงเทพฯ-ดอนเมือง ภายในประเทศ *(เริ่มทำการบิน 25 มีนาคม 2561)*

ดูเพิ่ม

อ้างอิง