ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนรามคำแหง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
'''ถนนรามคำแหง''' ({{lang-roman|Thanon Ramkhamhaeng}}) เป็นถนนสายหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]] ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ
'''ถนนรามคำแหง''' ({{lang-roman|Thanon Ramkhamhaeng}}) เป็นถนนสายหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]] ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ
# ช่วงจากสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี
# ช่วงจากสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี
# ช่วงจากแยกลำสาลีถึงแยกตัดกับถนนสุวินทวงศ์
# ช่วงจากแยกลำสาลีถึงแยกตัดกับถนนสุวินทวงศ์<ref>{{cite web|url=http://prop2morrow.com/2017/09/18/11619/|title=เลาะดูคอนโดฯย่านรามคำแหง /เอกชนลุ้นปรับสีผังเมืองใหม่รับรถไฟฟ้าสายสีส้ม|date=2017-09-18|first=preeya |last=tednok|work=prop2morrow}}</ref>


;ช่วงจากสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี
;ช่วงจากสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี
มีจุดเริ่มต้นที่แยก[[คลองตัน]]ในพื้นที่[[เขตสวนหลวง]] ซึ่งเป็นจุดตัดกับ[[ถนนเพชรบุรี]] [[ถนนพัฒนาการ]] และ[[ถนนสุขุมวิท 71]] (ปรีดี พนมยงค์) ขึ้นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านแยกรามคำแหง (จุดตัดกับ[[ถนนพระราม 9]]) ผ่านแยกวัดเทพลีลา และมหาวิทยาลัยรามคำแหง ,การกีฬาแห่งประเทศไทย ไปสิ้นสุดที่[[แยกลำสาลี]]ในพื้นที่[[เขตบางกะปิ]] มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร มีทางยกระดับช่วงตั้งแต่ซอยรามคำแหง 13 หน้าห้างสรรพสินค้า[[เดอะมอลล์]] จนถึงซอยรามคำแหง 81/4 สถานที่สำคัญบนถนนช่วงนี้ มี[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] [[มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ]] [[ราชมังคลากีฬาสถาน]] ([[สนามกีฬาหัวหมาก]]) วัดพระไกรสีห์ และ[[วัดเทพลีลา]]
มีจุดเริ่มต้นที่แยก[[คลองตัน]]ในพื้นที่[[เขตสวนหลวง]] ซึ่งเป็นจุดตัดกับ[[ถนนเพชรบุรี]] [[ถนนพัฒนาการ]] และ[[ถนนสุขุมวิท 71]] (ปรีดี พนมยงค์) ขึ้นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านแยกรามคำแหง (จุดตัดกับ[[ถนนพระราม 9]]) ผ่านแยกวัดเทพลีลา และมหาวิทยาลัยรามคำแหง ,การกีฬาแห่งประเทศไทย ไปสิ้นสุดที่[[แยกลำสาลี]]ในพื้นที่[[เขตบางกะปิ]] มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร<ref name=ราม>{{cite web|url=https://www.roojai.com/article/road-tips/10-unlike-road-in-bangkok/|work=รู้ใจ.com|date=2015-03-25|title=10 อันดับถนนที่รถติด ไม่จำเป็นอย่าไปในกรุงเทพฯ}}</ref> มีทางยกระดับช่วงตั้งแต่ซอยรามคำแหง 13 หน้าห้างสรรพสินค้า[[เดอะมอลล์]] จนถึงซอยรามคำแหง 81/4 สถานที่สำคัญบนถนนช่วงนี้ มี[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] [[มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ]] [[ราชมังคลากีฬาสถาน]] ([[สนามกีฬาหัวหมาก]]) วัดพระไกรสีห์ และ[[วัดเทพลีลา]]


อนึ่ง ถนนรามคำแหงช่วงสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี ฝั่งขาเข้าเมือง จะไม่มีซอยรามคำแหง 6
อนึ่ง ถนนรามคำแหงช่วงสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี ฝั่งขาเข้าเมือง จะไม่มีซอยรามคำแหง 6
บรรทัด 17: บรรทัด 16:
* แยกรามคำแหง 26 (ซอยรามคำแหง 26)
* แยกรามคำแหง 26 (ซอยรามคำแหง 26)
* แยกลำสาลี [[ถนนศรีนครินทร์]]
* แยกลำสาลี [[ถนนศรีนครินทร์]]

โดยถือว่าเป็นถนนที่มีการจราจรที่ติดขัดและคับคั่งที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร<ref name=ราม/>


;ช่วงจากแยกลำสาลีถึงแยกตัดกับถนนสุวินทวงศ์
;ช่วงจากแยกลำสาลีถึงแยกตัดกับถนนสุวินทวงศ์
ถนนช่วงนี้เดิมชื่อว่าถนนสุขาภิบาล 3 มีความยาวประมาณ 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากแยกลำสาลีในเขตบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับ[[ถนนศรีนครินทร์]] มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับ[[ถนนพ่วงศิริ]] ผ่านแยกบ้านม้า (จุดตัดกับ[[ถนนศรีบูรพา]]) เข้าพื้นที่[[เขตสะพานสูง]] ตัดกับ[[ถนนกาญจนาภิเษก]] เข้าพื้นที่[[เขตมีนบุรี]] ผ่านแยกลาดบัวขาว (จุดตัดกับ[[ถนนมีนพัฒนา]]) และ[[แยกรามคำแหง-ร่มเกล้า]] (จุดตัดกับ[[ถนนร่มเกล้า]]) ไปสิ้นสุดที่[[แยกรามคำแหง-สุวินทวงศ์]] สถานที่สำคัญบนถนนช่วงนี้ มี[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า]] [[โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า]] วัดศรีบุญเรือง วัดบางเพ็งใต้ [[โรงเรียนเทพอักษร]] [[โรงเรียนนานาชาติร่วมฤดี]] และการเคหะมีนบุรี
ถนนช่วงนี้เดิมชื่อว่าถนนสุขาภิบาล 3<ref>{{cite web|url=http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2011/09/K11111517/K11111517.html|work=[[พันทิปดอตคอม]]|date=2011-09-24|author=๛tum๛|title=ในกรุงเทพฯ มีถนนสุขาภิบาล ๑, ๒, ๓ และ ๕ มีที่มาอย่างไร แล้วถนนสุขาภิบาล ๔ อยู่ตรงไหนของกรุงเทพฯ ครับ???}}</ref> มีความยาวประมาณ 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากแยกลำสาลีในเขตบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับ[[ถนนศรีนครินทร์]] มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับ[[ถนนพ่วงศิริ]] ผ่านแยกบ้านม้า (จุดตัดกับ[[ถนนศรีบูรพา]]) เข้าพื้นที่[[เขตสะพานสูง]] ตัดกับ[[ถนนกาญจนาภิเษก]] เข้าพื้นที่[[เขตมีนบุรี]] ผ่านแยกลาดบัวขาว (จุดตัดกับ[[ถนนมีนพัฒนา]]) และ[[แยกรามคำแหง-ร่มเกล้า]] (จุดตัดกับ[[ถนนร่มเกล้า]]) ไปสิ้นสุดที่[[แยกรามคำแหง-สุวินทวงศ์]] สถานที่สำคัญบนถนนช่วงนี้ มี[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า]] [[โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า]] วัดศรีบุญเรือง วัดบางเพ็งใต้ [[โรงเรียนเทพอักษร]] [[โรงเรียนนานาชาติร่วมฤดี]] และการเคหะมีนบุรี

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|13.777868|100.674045}}


[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร|รามคำแหง]]
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร|รามคำแหง]]
บรรทัด 26: บรรทัด 32:
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตสะพานสูง|รามคำแหง]]
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตสะพานสูง|รามคำแหง]]
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตมีนบุรี|รามคำแหง]]
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตมีนบุรี|รามคำแหง]]
{{โครงคมนาคม}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:06, 20 กุมภาพันธ์ 2561

ถนนรามคำแหง (อักษรโรมัน: Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ

  1. ช่วงจากสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี
  2. ช่วงจากแยกลำสาลีถึงแยกตัดกับถนนสุวินทวงศ์[1]
ช่วงจากสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี

มีจุดเริ่มต้นที่แยกคลองตันในพื้นที่เขตสวนหลวง ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนเพชรบุรี ถนนพัฒนาการ และถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) ขึ้นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านแยกรามคำแหง (จุดตัดกับถนนพระราม 9) ผ่านแยกวัดเทพลีลา และมหาวิทยาลัยรามคำแหง ,การกีฬาแห่งประเทศไทย ไปสิ้นสุดที่แยกลำสาลีในพื้นที่เขตบางกะปิ มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร[2] มีทางยกระดับช่วงตั้งแต่ซอยรามคำแหง 13 หน้าห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์ จนถึงซอยรามคำแหง 81/4 สถานที่สำคัญบนถนนช่วงนี้ มีมหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ราชมังคลากีฬาสถาน (สนามกีฬาหัวหมาก) วัดพระไกรสีห์ และวัดเทพลีลา

อนึ่ง ถนนรามคำแหงช่วงสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี ฝั่งขาเข้าเมือง จะไม่มีซอยรามคำแหง 6

ทางแยกในถนนรามคำแหงช่วงสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี มีดังนี้

โดยถือว่าเป็นถนนที่มีการจราจรที่ติดขัดและคับคั่งที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร[2]

ช่วงจากแยกลำสาลีถึงแยกตัดกับถนนสุวินทวงศ์

ถนนช่วงนี้เดิมชื่อว่าถนนสุขาภิบาล 3[3] มีความยาวประมาณ 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากแยกลำสาลีในเขตบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพ่วงศิริ ผ่านแยกบ้านม้า (จุดตัดกับถนนศรีบูรพา) เข้าพื้นที่เขตสะพานสูง ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก เข้าพื้นที่เขตมีนบุรี ผ่านแยกลาดบัวขาว (จุดตัดกับถนนมีนพัฒนา) และแยกรามคำแหง-ร่มเกล้า (จุดตัดกับถนนร่มเกล้า) ไปสิ้นสุดที่แยกรามคำแหง-สุวินทวงศ์ สถานที่สำคัญบนถนนช่วงนี้ มีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า วัดศรีบุญเรือง วัดบางเพ็งใต้ โรงเรียนเทพอักษร โรงเรียนนานาชาติร่วมฤดี และการเคหะมีนบุรี

อ้างอิง

  1. tednok, preeya (2017-09-18). "เลาะดูคอนโดฯย่านรามคำแหง /เอกชนลุ้นปรับสีผังเมืองใหม่รับรถไฟฟ้าสายสีส้ม". prop2morrow.
  2. 2.0 2.1 "10 อันดับถนนที่รถติด ไม่จำเป็นอย่าไปในกรุงเทพฯ". รู้ใจ.com. 2015-03-25.
  3. ๛tum๛ (2011-09-24). "ในกรุงเทพฯ มีถนนสุขาภิบาล ๑, ๒, ๓ และ ๕ มีที่มาอย่างไร แล้วถนนสุขาภิบาล ๔ อยู่ตรงไหนของกรุงเทพฯ ครับ???". พันทิปดอตคอม.

แหล่งข้อมูลอื่น

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°46′40″N 100°40′27″E / 13.777868°N 100.674045°E / 13.777868; 100.674045