ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานหก"

พิกัด: 13°44′54″N 100°29′47″E / 13.748281°N 100.496267°E / 13.748281; 100.496267
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
ลบส่วนที่ลอกมา
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ย้อนการแก้ไขที่ 7424233 สร้างโดย Pilarbini (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


[[ภาพ: สะพานหก คูเมืองเดิม.jpg|thumb|250px|สะพานหก]]
[[ภาพ: สะพานหก คูเมืองเดิม.jpg|thumb|250px|สะพานหก]]
'''สะพานหก''' ([[อักษรโรมัน]]: Saphan Hok) เป็น[[สะพาน]]ที่สร้างข้าม[[คลองคูเมือง]]เดิม หรือ[[คลองหลอดวัดราชนัดดา]] ตั้งอยู่ในแขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
'''สะพานหก''' ([[อักษรโรมัน]]: Saphan Hok) เป็น[[สะพาน]]ที่สร้างข้าม[[คลองคูเมือง]]เดิม หรือ[[คลองหลอดวัดราชนัดดา]] ตั้งอยู่ในแขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] ชื่อสะพานเรียกตามลักษณะซึ่งนำแบบมาจากสะพานในเมืองวิลันดา [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] สร้างครั้ง[[รัชกาลที่ 4]] ต่อเนื่องถึง[[รัชกาลที่ 5]] มีลักษณะพิเศษ คือ สามารถยกหรือหกให้เรือผ่านได้ โดยมีสะพานลักษณะเช่นนี้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงต้น[[กรุงรัตนโกสินทร์]]มากด้วยกันถึง 8 แห่ง ทั้งใน[[ฝั่งพระนคร]]และ[[ฝั่งธนบุรี]] คือ

*ข้ามคลองที่หน้ากระทรวงมหาดไทย
*ข้ามคลองที่หลังกระทรวงมหาดไทย
*ข้ามคลองริมวังพระองค์เจ้าสาย
*ข้ามคลองบางกอกใหญ่
*ข้ามคลองวัดอนงคาราม
*ข้ามคลองวัดพิชัยญาติ
*ข้ามคลองสระปทุม
*ข้ามคลองมอญ

แต่ได้ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ปัจจุบันเหลือเพียงแห่งเดียว คือ บริเวณหน้ากระทรวงมหาดไทย

สะพานหก เชื่อมระหว่าง[[ถนนอัษฎางค์]]และ[[ถนนราชินี]] โดยมีสถานที่สำคัญใกล้เคียง คือ [[อนุสาวรีย์หมู]]และ[[สะพานปีกุน]], [[วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม]], [[วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม]], [[แยกสะพานมอญ]], [[แยกสะพานช้างโรงสี]], [[กระทรวงมหาดไทย]] และ[[กระทรวงกลาโหม]]

เดิมเป็นสะพานไม้และได้ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ต่อในในช่วงฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี ในปี[[พ.ศ. 2525|พุทธศักราช 2525]] ทางรัฐบาลได้ดำเนินการสร้างสะพานหกขึ้นมาใหม่ โดยปรับจากโครงสร้างไม้ปลายตุ้มเหล็กมาเป็นสะพานคอนกรีตสำหรับเดินข้าม แต่ให้คงลักษณะเหมือนอย่างโบราณเพื่อเป็นอนุสรณ์ของกรุงรัตนโกสินทร์ <ref>{{cite web|url=http://www.thapra.lib.su.ac.th/ratanagosin/bridge-hoke.htm|title=
สะพานหก (The Hoke Bridge)|work=ศูนย์ข้อมูล เกาะรัตนโกสินทร์}}</ref> <ref>{{cite web|url=http://oknation.nationtv.tv/blog/pakapoo/2009/07/26/entry-1|work=[[โอเคเนชั่น]]|date=2009-07-26|accessdate=2017-01-27|title=/***\_พาไปดูสะพานหก ..... ที่สมัยก่อนมี6สะพาน แต่...ไม่ใช่สะพานพระราม6|author=ป้าไม่อยู่ปู่เข้าเวบ}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:00, 29 มกราคม 2561

บทความนี้หมายถึงสะพานหกในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ในความหมายอื่น ดูที่: สะพานยก

สะพานหก

สะพานหก (อักษรโรมัน: Saphan Hok) เป็นสะพานที่สร้างข้ามคลองคูเมืองเดิม หรือคลองหลอดวัดราชนัดดา ตั้งอยู่ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ชื่อสะพานเรียกตามลักษณะซึ่งนำแบบมาจากสะพานในเมืองวิลันดา ประเทศเนเธอร์แลนด์ สร้างครั้งรัชกาลที่ 4 ต่อเนื่องถึงรัชกาลที่ 5 มีลักษณะพิเศษ คือ สามารถยกหรือหกให้เรือผ่านได้ โดยมีสะพานลักษณะเช่นนี้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มากด้วยกันถึง 8 แห่ง ทั้งในฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี คือ

  • ข้ามคลองที่หน้ากระทรวงมหาดไทย
  • ข้ามคลองที่หลังกระทรวงมหาดไทย
  • ข้ามคลองริมวังพระองค์เจ้าสาย
  • ข้ามคลองบางกอกใหญ่
  • ข้ามคลองวัดอนงคาราม
  • ข้ามคลองวัดพิชัยญาติ
  • ข้ามคลองสระปทุม
  • ข้ามคลองมอญ

แต่ได้ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ปัจจุบันเหลือเพียงแห่งเดียว คือ บริเวณหน้ากระทรวงมหาดไทย

สะพานหก เชื่อมระหว่างถนนอัษฎางค์และถนนราชินี โดยมีสถานที่สำคัญใกล้เคียง คือ อนุสาวรีย์หมูและสะพานปีกุน, วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม, วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม, แยกสะพานมอญ, แยกสะพานช้างโรงสี, กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงกลาโหม

เดิมเป็นสะพานไม้และได้ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ต่อในในช่วงฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี ในปีพุทธศักราช 2525 ทางรัฐบาลได้ดำเนินการสร้างสะพานหกขึ้นมาใหม่ โดยปรับจากโครงสร้างไม้ปลายตุ้มเหล็กมาเป็นสะพานคอนกรีตสำหรับเดินข้าม แต่ให้คงลักษณะเหมือนอย่างโบราณเพื่อเป็นอนุสรณ์ของกรุงรัตนโกสินทร์ [1] [2]

อ้างอิง

  1. "สะพานหก (The Hoke Bridge)". ศูนย์ข้อมูล เกาะรัตนโกสินทร์.
  2. ป้าไม่อยู่ปู่เข้าเวบ (2009-07-26). "/***\_พาไปดูสะพานหก ..... ที่สมัยก่อนมี6สะพาน แต่...ไม่ใช่สะพานพระราม6". โอเคเนชั่น. สืบค้นเมื่อ 2017-01-27.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′54″N 100°29′47″E / 13.748281°N 100.496267°E / 13.748281; 100.496267