ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิสตาลิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ดูเพิ่ม: แก้ไขให้ตรงกับบทความ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีแหล่งอ้างอิงในเนื้อความ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{อุดมการณ์ทางการเมือง}}
{{อุดมการณ์ทางการเมือง}}
'''ลัทธิสตาลิน (Stalinism)''' หรือ ''สังคมนิยมในประเทศเดียว'' เป็นการตีความทางทฤษฎีและการประยุกต์ ในทางปฏิบัติของหลักนิยม[[มาร์กซิสต์]] (Marxism) ส่วนที่เป็นคุณูปการโดย[[โจเซฟ สตาลิน]] (Josef Stalin) ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจครอบงำพรรคคอมมิวนิสต์และกลไกของรัฐบาลใน[[สหภาพโซเวียต]] (Soviet Union) ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษหลังปี [[ค.ศ. 1920]] จนกระทั่งเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อปี [[ค.ศ. 1953]]
'''ลัทธิสตาลิน (Stalinism)''' หรือ ''สังคมนิยมในประเทศเดียว'' เป็นการตีความทางทฤษฎีและการประยุกต์ ในทางปฏิบัติของหลักนิยม[[มาร์กซิสต์]]ส่วนที่เป็นคุณูปการโดย[[โจเซฟ สตาลิน]] (Josef Stalin) ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจครอบงำพรรคคอมมิวนิสต์และกลไกของรัฐบาลใน[[สหภาพโซเวียต]] ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษหลังปี [[ค.ศ. 1920]] จนกระทั่งเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อปี [[ค.ศ. 1953]]


สำหรับคุณูปการสำคัญของลัทธิสตาลินมีดังนี้ คือ
สำหรับคุณูปการสำคัญของลัทธิสตาลินมีดังนี้ คือ
บรรทัด 10: บรรทัด 11:
สตาลินได้แสดงให้เห็นว่า ชัยชนะของลัทธิคอมมิวนิสต์นี้ นอกจากจะดำเนินการได้ตามแนวทางของ[[ลัทธิมากซ์]] และ [[ลัทธิเลนิน]] (Marxism-Leninism) นี้แล้ว ก็ยังสามารถทำได้โดยวิธีอื่น คือการยึดครองทางทหารโดยมหาอำนาจคอมมิวนิสต์ (อย่างในกรณีที่ [[วันแห่งชัยชนะ (ยุโรปตะวันออก)|สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองยุโรปตะวันออก]] หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]]) ก็ช่วยให้บรรลุเป้าหมายคือการได้ชัยชนะของลัทธิคอมมิวนิสต์ได้ หากกรณีที่ปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ เอื้ออำนวย
สตาลินได้แสดงให้เห็นว่า ชัยชนะของลัทธิคอมมิวนิสต์นี้ นอกจากจะดำเนินการได้ตามแนวทางของ[[ลัทธิมากซ์]] และ [[ลัทธิเลนิน]] (Marxism-Leninism) นี้แล้ว ก็ยังสามารถทำได้โดยวิธีอื่น คือการยึดครองทางทหารโดยมหาอำนาจคอมมิวนิสต์ (อย่างในกรณีที่ [[วันแห่งชัยชนะ (ยุโรปตะวันออก)|สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองยุโรปตะวันออก]] หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]]) ก็ช่วยให้บรรลุเป้าหมายคือการได้ชัยชนะของลัทธิคอมมิวนิสต์ได้ หากกรณีที่ปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ เอื้ออำนวย


ว่ากันตามหลักจริง ๆ แล้ว สตาลินมีคุณูปการน้อยต่อหลักนิยมคอมมิวนิสต์ มีการจำกัดตัวเองอยู่เฉพาะในการตีความลัทธิมากซ์และลัทธิเลนิน (Marxism-Leninism) เพื่อนำไปใช้กับสภาพแวดล้อมทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศในยุคของเขาเท่า นั้นเอง
ว่ากันตามหลักจริง ๆ แล้ว สตาลินมีคุณูปการน้อยต่อหลักนิยมคอมมิวนิสต์ มีการจำกัดตัวเองอยู่เฉพาะในการตีความลัทธิมากซ์และลัทธิเลนิน (Marxism-Leninism) เพื่อนำไปใช้กับสภาพแวดล้อมทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศในยุคของเขาเท่านั้นเอง


พวกที่เข้ามารับช่วงอำนาจต่อจากสตาลิน ได้ทำการรื้อโครงการของเลนินเสียสิ้น และ ลัทธิสตาลินนี้ก็ได้ถูกประณามว่าเป็นลัทธิที่ส่งเสริมแนวการปกครองแบบ "[[ลัทธิบูชาบุคคล|ยึดตัวบุคคลเป็นหลัก]]" (Cult of Personality) เป็นการปกครองแบบเผด็จการโดยบุคคลคนเดียว ยึดหลักการคนทำผิดไม่ได้ ทำการสถาปนารัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ ทำการกำจัดพวกที่ถูกระแวงว่าจะเป็นฝ่ายตรงกันข้าม โดยวิธีการกวาดล้าง และใช้ตำรวจลับ มีการจองจำคุมขังพวกที่ไม่เห็นด้วยทางการเมืองนับจำนวนไม่ถ้วนในค่าย "กูลัก"
พวกที่เข้ามารับช่วงอำนาจต่อจากสตาลิน ได้ทำการรื้อโครงการของเลนินเสียสิ้น และ ลัทธิสตาลินนี้ก็ได้ถูกประณามว่าเป็นลัทธิที่ส่งเสริมแนวการปกครองแบบ "[[ลัทธิบูชาบุคคล|ยึดตัวบุคคลเป็นหลัก]]" (Cult of Personality) เป็นการปกครองแบบเผด็จการโดยบุคคลคนเดียว ยึดหลักการคนทำผิดไม่ได้ ทำการสถาปนารัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ ทำการกำจัดพวกที่ถูกระแวงว่าจะเป็นฝ่ายตรงกันข้าม โดยวิธีการกวาดล้าง และใช้ตำรวจลับ มีการจองจำคุมขังพวกที่ไม่เห็นด้วยทางการเมืองนับจำนวนไม่ถ้วนในค่าย "กูลัก"
บรรทัด 18: บรรทัด 19:
# แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ปี
# แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ปี
# เกษตรแบบรวมศูนย์
# เกษตรแบบรวมศูนย์
# [[รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2479|รัฐธรรมนูญโซเวียตฉบับปี ค.ศ. 1936]]
# [[รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2479]]


แม้ถึงจะมีการประณามลัทธิสตาลินนี้อย่างไร แต่ว่าการประยุกต์ใช้ทฤษฎีคอมมิวนิสต์ทั้งในแง่ทฤษฎีและในแง่ปฏิบัติต่าง ๆ ที่ดำเนินการกว่า 30 ปี ในช่วงการปกครองของสตาลินนี้ ก็ยังคงเป็นพื้นฐานของหลักนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์อยู่ในช่วงที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย
แม้ถึงจะมีการประณามลัทธิสตาลินนี้อย่างไร แต่ว่าการประยุกต์ใช้ทฤษฎีคอมมิวนิสต์ทั้งในแง่ทฤษฎีและในแง่ปฏิบัติต่าง ๆ ที่ดำเนินการกว่า 30 ปี ในช่วงการปกครองของสตาลินนี้ ก็ยังคงเป็นพื้นฐานของหลักนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์อยู่ในช่วงที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย
บรรทัด 37: บรรทัด 38:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{More footnotes|date=December 2008}}
{{รายการอ้างอิง|2}}
{{รายการอ้างอิง|2}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:42, 23 มกราคม 2561

ลัทธิสตาลิน (Stalinism) หรือ สังคมนิยมในประเทศเดียว เป็นการตีความทางทฤษฎีและการประยุกต์ ในทางปฏิบัติของหลักนิยมมาร์กซิสต์ส่วนที่เป็นคุณูปการโดยโจเซฟ สตาลิน (Josef Stalin) ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจครอบงำพรรคคอมมิวนิสต์และกลไกของรัฐบาลในสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษหลังปี ค.ศ. 1920 จนกระทั่งเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1953

สำหรับคุณูปการสำคัญของลัทธิสตาลินมีดังนี้ คือ

  1. วิธีการจัดชาวโซเวียตให้บรรลุถึงการการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรม
  2. จัดระบบการเกษตรแบบรวมศูนย์
  3. ป้องกันชาติจากการถูกนาซีโจมตี
  4. บูรณะชาติที่ย่อยยับจากสงคราม

สตาลินได้แสดงให้เห็นว่า ชัยชนะของลัทธิคอมมิวนิสต์นี้ นอกจากจะดำเนินการได้ตามแนวทางของลัทธิมากซ์ และ ลัทธิเลนิน (Marxism-Leninism) นี้แล้ว ก็ยังสามารถทำได้โดยวิธีอื่น คือการยึดครองทางทหารโดยมหาอำนาจคอมมิวนิสต์ (อย่างในกรณีที่ สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองยุโรปตะวันออก หลังสงครามโลกครั้งที่ 2) ก็ช่วยให้บรรลุเป้าหมายคือการได้ชัยชนะของลัทธิคอมมิวนิสต์ได้ หากกรณีที่ปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ เอื้ออำนวย

ว่ากันตามหลักจริง ๆ แล้ว สตาลินมีคุณูปการน้อยต่อหลักนิยมคอมมิวนิสต์ มีการจำกัดตัวเองอยู่เฉพาะในการตีความลัทธิมากซ์และลัทธิเลนิน (Marxism-Leninism) เพื่อนำไปใช้กับสภาพแวดล้อมทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศในยุคของเขาเท่านั้นเอง

พวกที่เข้ามารับช่วงอำนาจต่อจากสตาลิน ได้ทำการรื้อโครงการของเลนินเสียสิ้น และ ลัทธิสตาลินนี้ก็ได้ถูกประณามว่าเป็นลัทธิที่ส่งเสริมแนวการปกครองแบบ "ยึดตัวบุคคลเป็นหลัก" (Cult of Personality) เป็นการปกครองแบบเผด็จการโดยบุคคลคนเดียว ยึดหลักการคนทำผิดไม่ได้ ทำการสถาปนารัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ ทำการกำจัดพวกที่ถูกระแวงว่าจะเป็นฝ่ายตรงกันข้าม โดยวิธีการกวาดล้าง และใช้ตำรวจลับ มีการจองจำคุมขังพวกที่ไม่เห็นด้วยทางการเมืองนับจำนวนไม่ถ้วนในค่าย "กูลัก"

แนวความคิดต่าง ๆ ที่พัฒนาและนำไปใช้ในสหภาพโซเวียตโดยสตาลิน ซึ่งมีผลกระทบต่อหลักนิยมคอมมิวนิสต์นั้นมีดังนี้ คือ

  1. แนวความคิดเรื่อง "สังคมนิยมในประเทศเดียว" (Socialism in One Country)
  2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ปี
  3. เกษตรแบบรวมศูนย์
  4. รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2479

แม้ถึงจะมีการประณามลัทธิสตาลินนี้อย่างไร แต่ว่าการประยุกต์ใช้ทฤษฎีคอมมิวนิสต์ทั้งในแง่ทฤษฎีและในแง่ปฏิบัติต่าง ๆ ที่ดำเนินการกว่า 30 ปี ในช่วงการปกครองของสตาลินนี้ ก็ยังคงเป็นพื้นฐานของหลักนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์อยู่ในช่วงที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Economic Problems of Socialism in the USSR, written in 1951
  • Vincent Barnett, "Understanding Stalinism: The 'Orwellian Discrepancy' and the 'Rational Choice Dictator'," Europe-Asia Studies, vol. 58, no. 3, May 2006 (online abstract).
  • Alan Bullock, Hitler and Stalin: Parallel Lives, Goldmann
  • Isaac Deutscher, Stalin: A Political Biography, Dietz, 1990
  • Philip Ingram, Russia and the USSR 1905–1991, Cambridge University Press, Cambridge, 1997
  • Lankov, Andrei N., Crisis in North Korea: The Failure of De-Stalinization, 1956. Honolulu: Hawaii University Press (2004)
  • Boris Souvarine, Stalin: A Critical Survey of Bolshevism, Alliance Book, 1939
  • Robert Service, Lenin: A Biography, Belknap Press, 2002 ISBN 0-330-49139-3
  • Robert Service. Stalin: A Biography, Belknap Press, 2005 ISBN 0-674-01697-1
  • Vladimir Tismăneanu (2003). Stalinism for all seasons: a political history of Romanian Communism. Berkeley: University of California Press. ISBN 0-520-23747-1.
  • Allan Todd, The European Dictatorships: Hitler, Stalin, Mussolini, Cambridge University Press, Cambridge, 2003
  • John Traynor, Challenging History: Europe 1890–1990, Nelson Thornes Ltd, Cheltenham, 2002
  • C.L.R. James. State Capitalism and World Revolution. Chicago: Charles H. Kerr Publishing Co., 1950.

แหล่งข้อมูลอื่น