ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คติคำนึงประโยชน์ (สถาปัตยกรรม)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Olympiastadionin torni.jpg|thumb|150px|หอคอยของสนามกีฬาโอลิมปิกเฮลซิงกิ (Y. Lindegren & T. Jäntti, สร้างปี 1934-38)]]
[[File:Olympiastadionin torni.jpg|thumb|150px|หอคอยของสนามกีฬาโอลิมปิกเฮลซิงกิ (Y. Lindegren & T. Jäntti, สร้างปี 1934-38)]]


ใน[[สถาปัตยกรรม]] '''คติคำนึงประโยชน์''' ({{lang-en|functionalism}}) เป็นหลักการที่สถาปนิกควรออกแบบอาคารนั้นโดยยึดจากวัตถุประสงค์ของอาคารนั้น คำพูดนี้ดูจะขาดความเป็นตัวเองมากกว่าที่ปรากฎเห็นครั้งแรก และเป็นสิ่งที่ดูสับสนและเกิดข้อพิพาทในวงการอาชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกี่ยวข้องกับ[[สถาปัตยกรรมสมัยใหม่]] สถาปัตยกรรมแบบประโยชน์นิยมมีอิทธิพลอย่างยิ่งใน[[เยอรมนี]] [[เชโกสโลวาเกีย]] [[สหภาพโซเวียต]] และ[[เนเธอร์แลนด์]]
ใน[[สถาปัตยกรรม]] '''คติคำนึงประโยชน์''' ({{lang-en|functionalism}}) เป็นหลักการที่สถาปนิกควรออกแบบอาคารนั้นโดยยึดจากวัตถุประสงค์ของอาคารนั้น คำพูดนี้ดูจะขาดความเป็นตัวเองมากกว่าที่ปรากฎเห็นครั้งแรก และเป็นสิ่งที่ดูสับสนและเกิดข้อพิพาทในวงการอาชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกี่ยวข้องกับ[[สถาปัตยกรรมสมัยใหม่]] สถาปัตยกรรมแบบคติคำนึงประโยชน์มีอิทธิพลอย่างยิ่งใน[[เยอรมนี]] [[เชโกสโลวาเกีย]] [[สหภาพโซเวียต]] และ[[เนเธอร์แลนด์]]


ที่ตั้งของการคำนึงประโยชน์ในอาคารนั้น สามารถค้นกลับไปได้ในหลักการคลาสสิกสามข้อของ[[วิตรูวิอุส]] (Vitruvian triad) อันได้แก่ความแข็งแรงมั่นคง (FIRMITAS), การใช้ประโยชน์ได้ (VTILITAS) และความงาม (VENVSTAS) ซึ่งเป็นหนึ่งใน 3 ข้อของคุณลักษณะทางสถาปัตยกรรม มุมมองของวิทยาแนวการหน้าที่เป็นสิ่งพื้นฐานของสถาปนิกฟื้นฟูกอทิกบางท่าน โดยเฉพาะ[[ออกัสตัส พิวจิน]] เขียนไว้ว่า "ไม่ควรมีสิ่งเติมแต่งในอาคาร ที่ไม่จำเป็นต่อความสะดวก โครงสร้าง หรือ ความเหมาะสม" และ "สิ่งประดบทั้งหมดมีไว้เพื่อให้โครงสร้างที่จำเป็นของอาคารดีขึ้น"<ref>A.W.N.Pugin, The true principles of pointed or Christian architecture : set forth in two lectures delivered at St. Marie's, Oscott.</ref>
การคำนึงประโยชน์ในอาคารนั้น สามารถค้นกลับไปได้ในหลักการคลาสสิกสามข้อของ[[วิตรูวิอุส]] (Vitruvian triad) อันได้แก่ความแข็งแรงมั่นคง (FIRMITAS), การใช้ประโยชน์ได้ (VTILITAS) และความงาม (VENVSTAS) ซึ่งเป็นหนึ่งใน 3 ข้อของคุณลักษณะทางสถาปัตยกรรม มุมมองของวิทยาแนวการหน้าที่เป็นสิ่งพื้นฐานของสถาปนิกฟื้นฟูกอทิกบางท่าน โดยเฉพาะ[[ออกัสตัส พิวจิน]] เขียนไว้ว่า "ไม่ควรมีสิ่งเติมแต่งในอาคาร ที่ไม่จำเป็นต่อความสะดวก โครงสร้าง หรือ ความเหมาะสม" และ "สิ่งประดบทั้งหมดมีไว้เพื่อให้โครงสร้างที่จำเป็นของอาคารดีขึ้น"<ref>A.W.N.Pugin, The true principles of pointed or Christian architecture : set forth in two lectures delivered at St. Marie's, Oscott.</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:10, 4 มกราคม 2561

หอคอยของสนามกีฬาโอลิมปิกเฮลซิงกิ (Y. Lindegren & T. Jäntti, สร้างปี 1934-38)

ในสถาปัตยกรรม คติคำนึงประโยชน์ (อังกฤษ: functionalism) เป็นหลักการที่สถาปนิกควรออกแบบอาคารนั้นโดยยึดจากวัตถุประสงค์ของอาคารนั้น คำพูดนี้ดูจะขาดความเป็นตัวเองมากกว่าที่ปรากฎเห็นครั้งแรก และเป็นสิ่งที่ดูสับสนและเกิดข้อพิพาทในวงการอาชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ สถาปัตยกรรมแบบคติคำนึงประโยชน์มีอิทธิพลอย่างยิ่งในเยอรมนี เชโกสโลวาเกีย สหภาพโซเวียต และเนเธอร์แลนด์

การคำนึงประโยชน์ในอาคารนั้น สามารถค้นกลับไปได้ในหลักการคลาสสิกสามข้อของวิตรูวิอุส (Vitruvian triad) อันได้แก่ความแข็งแรงมั่นคง (FIRMITAS), การใช้ประโยชน์ได้ (VTILITAS) และความงาม (VENVSTAS) ซึ่งเป็นหนึ่งใน 3 ข้อของคุณลักษณะทางสถาปัตยกรรม มุมมองของวิทยาแนวการหน้าที่เป็นสิ่งพื้นฐานของสถาปนิกฟื้นฟูกอทิกบางท่าน โดยเฉพาะออกัสตัส พิวจิน เขียนไว้ว่า "ไม่ควรมีสิ่งเติมแต่งในอาคาร ที่ไม่จำเป็นต่อความสะดวก โครงสร้าง หรือ ความเหมาะสม" และ "สิ่งประดบทั้งหมดมีไว้เพื่อให้โครงสร้างที่จำเป็นของอาคารดีขึ้น"[1]

อ้างอิง

  1. A.W.N.Pugin, The true principles of pointed or Christian architecture : set forth in two lectures delivered at St. Marie's, Oscott.