ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าญองย่าน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
}}
}}


''' พระเจ้านยองยาน ''' กษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่ง[[ราชวงศ์ตองอู]] ครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1599–1605 ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1555 เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กใน [[พระเจ้าบุเรงนอง]] ที่ประสูติแต่พระสนมพระองค์เป็นพระราชอนุชาต่างพระราชมารดากับ [[พระเจ้านันทบุเรง]]
{{มีอักษรพม่า}}

''' พระเจ้านยองยาน ''' ({{lang-roman|Nyaungyan}} , 8 พฤศจิกายน 1555 – 5 พฤศจิกายน 1605) กษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่ง[[ราชวงศ์ตองอู]] ครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1599–1605 ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1555 เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กใน [[พระเจ้าบุเรงนอง]] ที่ประสูติแต่พระสนมพระองค์เป็นพระราชอนุชาต่างพระราชมารดากับ [[พระเจ้านันทบุเรง]]


หลังจากพระเจ้านันทบุเรงถูกปลงพระชนม์ที่ [[ตองอู]] เจ้านยองยานซึ่งประทับอยู่ที่ [[อังวะ]] จึงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่พระนามว่า ''' พระเจ้าสีหสุธรรมราชา ''' พร้อมกับย้ายเมืองหลวงจากตองอูมาที่อังวะและประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1600
หลังจากพระเจ้านันทบุเรงถูกปลงพระชนม์ที่ [[ตองอู]] เจ้านยองยานซึ่งประทับอยู่ที่ [[อังวะ]] จึงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่พระนามว่า ''' พระเจ้าสีหสุธรรมราชา ''' พร้อมกับย้ายเมืองหลวงจากตองอูมาที่อังวะและประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1600
บรรทัด 24: บรรทัด 22:
ทางประวัติศาสตร์ได้เรียกยุคของพระองค์ว่าเป็น "ยุคนยองยาน" หรือ "ราชวงศ์ตองอูยุคหลัง" เพราะเป็นยุคสมัยที่ราชวงศ์ตองอูได้รื้อฟื้นและสถาปนาความเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองในแถบนี้ขึ้นมาอีกครั้งในช่วงเวลาสั้น ๆ หลังล่มสลายไปจากการสิ้นพระชนม์ของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]]และ[[พระเจ้านันทบุเรง]]ก่อนหน้านั้น
ทางประวัติศาสตร์ได้เรียกยุคของพระองค์ว่าเป็น "ยุคนยองยาน" หรือ "ราชวงศ์ตองอูยุคหลัง" เพราะเป็นยุคสมัยที่ราชวงศ์ตองอูได้รื้อฟื้นและสถาปนาความเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองในแถบนี้ขึ้นมาอีกครั้งในช่วงเวลาสั้น ๆ หลังล่มสลายไปจากการสิ้นพระชนม์ของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]]และ[[พระเจ้านันทบุเรง]]ก่อนหน้านั้น


พระองค์สวรรคตเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1605 ที่ [[รัฐฉาน]] ระหว่างทำสงครามกับหัวเมืองไทใหญ่พระราชโอรสที่สืบราชสมบัติต่อ คือ [[พระเจ้าอโนเพตลุน]]
พระองค์สวรรคตเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1605 ที่ [[รัฐฉาน]] ระหว่างทรงทำสงครามกับหัวเมืองไทใหญ่ พระราชโอรสที่สืบราชสมบัติต่อ คือ [[พระเจ้าอโนเพตลุน]]


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัด 43: บรรทัด 41:
{{ตองอู}}
{{ตองอู}}


{{birth|1555}}
{{death|1605}}
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ตองอู]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์พม่า]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์ตองอู]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์ตองอู]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:00, 20 ธันวาคม 2560

พระเจ้าญองย่าน
พระเจ้ากรุงอังวะ
พระมหากษัตริย์พม่า
ครองราชย์19 ธันวาคม พ.ศ. 2142 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2148
ราชาภิเษก25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2143
ก่อนหน้าพระเจ้านันทบุเรง
ถัดไปพระเจ้าอโนเพตลุน
ประสูติ8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2098
สวรรคต5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2148 (49 พรรษา)
พระราชบุตรพระเจ้าอโนเพตลุน
พระเจ้าทาลุน
ราชวงศ์ตองอู
พระราชบิดาพระเจ้าบุเรงนอง
พระราชมารดาพระนางพินทซอ

พระเจ้านยองยาน กษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอู ครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1599–1605 ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1555 เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กใน พระเจ้าบุเรงนอง ที่ประสูติแต่พระสนมพระองค์เป็นพระราชอนุชาต่างพระราชมารดากับ พระเจ้านันทบุเรง

หลังจากพระเจ้านันทบุเรงถูกปลงพระชนม์ที่ ตองอู เจ้านยองยานซึ่งประทับอยู่ที่ อังวะ จึงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่พระนามว่า พระเจ้าสีหสุธรรมราชา พร้อมกับย้ายเมืองหลวงจากตองอูมาที่อังวะและประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1600

ทางประวัติศาสตร์ได้เรียกยุคของพระองค์ว่าเป็น "ยุคนยองยาน" หรือ "ราชวงศ์ตองอูยุคหลัง" เพราะเป็นยุคสมัยที่ราชวงศ์ตองอูได้รื้อฟื้นและสถาปนาความเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองในแถบนี้ขึ้นมาอีกครั้งในช่วงเวลาสั้น ๆ หลังล่มสลายไปจากการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงก่อนหน้านั้น

พระองค์สวรรคตเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1605 ที่ รัฐฉาน ระหว่างทรงทำสงครามกับหัวเมืองไทใหญ่ พระราชโอรสที่สืบราชสมบัติต่อ คือ พระเจ้าอโนเพตลุน

อ้างอิง

  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.
  • Htin Aung, Maung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press.
  • Royal Historical Commission of Burma (1829–1832). Hmannan Yazawin (ภาษาBurmese). Vol. 1–3 (2003 ed.). Yangon: Ministry of Information, Myanmar.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
ก่อนหน้า พระเจ้าญองย่าน ถัดไป
พระเจ้านันทบุเรง พระมหากษัตริย์พม่า
(อาณาจักรพม่ายุคที่ 2)

(ค.ศ. 1599–1605)
พระเจ้าอโนเพตลุน