ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นายกรัฐมนตรีเยอรมนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tanson siam (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7262797 สร้างโดย Tanson siam (พูดคุย)
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
<br /> using AWB
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
| post = นายกรัฐมนตรี</br>แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
| post = นายกรัฐมนตรี<br />แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
| insignia = Bundesadler Bundesorgane.svg
| insignia = Bundesadler Bundesorgane.svg
| insigniasize = 130px
| insigniasize = 130px
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
|}}
|}}


'''นายกรัฐมนตรี'''<ref>{{Cite RIT-EU | 1 = [[สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์]] | 2 = [[ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม]] และคณะ | 3 = http://www.royin.go.th/upload/297/FileUpload/952_5600.pdf | 4 = 3 | 5 = 1 (อักษร A-B) | 6 = 974-9588-25-8 | 7 = 137 | 8 = | 9 = 2547 }}</ref> ({{lang-de|Bundeskanzler}}; {{lang-en|Chancellor}}) เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหาร[[ประเทศเยอรมนี]] เป็นชื่อเรียกตำแหน่งเก่าแก่ เกิดขึ้นในสมัยที่เยอรมนีเพิ่งรวมประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมัน (Constitution of the German Empire 1871 AD) ในสมัย[[บิสมาร์ค]]ในปี ค.ศ. 1871 โดยรัฐต่าง ๆ ของเยอรมนีที่เป็นประเทศอิสระจากกันหลายประเทศ หลายแว่นแคว้น (ภายหลังการยกเลิก[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในปี ค.ศ. 1815 โดย[[นโปเลียน|จักรพรรดินโปเลียน]]แห่งฝรั่งเศส) ได้เข้ามารวมกันภายใต้การนำของ[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]
'''นายกรัฐมนตรี'''<ref>{{Cite RIT-EU | 1 = [[สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์]] | 2 = [[ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม]] และคณะ | 3 = http://www.royin.go.th/upload/297/FileUpload/952_5600.pdf | 4 = 3 | 5 = 1 (อักษร A-B) | 6 = 974-9588-25-8 | 7 = 137 | 8 = | 9 = 2547 }}</ref> ({{lang-de|Bundeskanzler}}; {{lang-en|Chancellor}}) เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหาร[[ประเทศเยอรมนี]] เป็นชื่อเรียกตำแหน่งเก่าแก่ เกิดขึ้นในสมัยที่เยอรมนีเพิ่งรวมประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมัน (Constitution of the German Empire 1871 AD) ในสมัย[[บิสมาร์ค]]ในปี ค.ศ. 1871 โดยรัฐต่าง ๆ ของเยอรมนีที่เป็นประเทศอิสระจากกันหลายประเทศ หลายแว่นแคว้น (ภายหลังการยกเลิก[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในปี ค.ศ. 1815 โดย[[นโปเลียน|จักรพรรดินโปเลียน]]แห่งฝรั่งเศส) ได้เข้ามารวมกันภายใต้การนำของ[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]


การร่างรัฐธรรมนูญครั้งนั้น กำหนดให้พระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรปรัสเซียเป็นประธานาธิบดีของสหพันธรัฐ แล้วเรียกชื่อว่า จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเยอรมัน จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเยอรมันจะทรงแต่งตั้งหัวหน้าฝ่ายบริหาร คือ นายกรัฐมนตรีเยอรมัน (German Chancellor) ที่เรียกชื่อตำแหน่งเช่นนี้ เนื่องจากเยอรมนีมีสภาพเป็น[[สหพันธรัฐ]] แต่ละรัฐหรือราชอาณาจักรในสหพันธรัฐ (เช่น [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]], [[ราชอาณาจักรบาวาเรีย]] เป็นต้น) ต่างก็มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของตนเอง
การร่างรัฐธรรมนูญครั้งนั้น กำหนดให้พระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรปรัสเซียเป็นประธานาธิบดีของสหพันธรัฐ แล้วเรียกชื่อว่า จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเยอรมัน จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเยอรมันจะทรงแต่งตั้งหัวหน้าฝ่ายบริหาร คือ นายกรัฐมนตรีเยอรมัน (German Chancellor) ที่เรียกชื่อตำแหน่งเช่นนี้ เนื่องจากเยอรมนีมีสภาพเป็น[[สหพันธรัฐ]] แต่ละรัฐหรือราชอาณาจักรในสหพันธรัฐ (เช่น [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]], [[ราชอาณาจักรบาวาเรีย]] เป็นต้น) ต่างก็มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของตนเอง
บรรทัด 43: บรรทัด 43:
| [[คอนราด อเดเนาร์]]
| [[คอนราด อเดเนาร์]]
| [[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F078072-0004, Konrad Adenauer.jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F078072-0004, Konrad Adenauer.jpg|90px|]]
| 15 กันยายน</br>พ.ศ. 2492
| 15 กันยายน<br />พ.ศ. 2492
| 11 ตุลาคม</br>พ.ศ. 2506
| 11 ตุลาคม<br />พ.ศ. 2506
|
|
|-
|-
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
| [[ลุดวิก แอร์ฮาร์ด]]
| [[ลุดวิก แอร์ฮาร์ด]]
| [[ไฟล์:Ludwig Erhard 916-1330.jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Ludwig Erhard 916-1330.jpg|90px|]]
| 17 ตุลาคม</br>พ.ศ. 2506
| 17 ตุลาคม<br />พ.ศ. 2506
| 30 พฤศจิกายน</br>พ.ศ. 2509
| 30 พฤศจิกายน<br />พ.ศ. 2509
|
|
|-
|-
บรรทัด 57: บรรทัด 57:
| [[คูร์ท เกออร์ก คีซิงเงอร์]]
| [[คูร์ท เกออร์ก คีซิงเงอร์]]
| [[ไฟล์:Kurt Georg Kiesinger (Nürburgring, 1969).jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Kurt Georg Kiesinger (Nürburgring, 1969).jpg|90px|]]
| 1 ธันวาคม</br>พ.ศ. 2509
| 1 ธันวาคม<br />พ.ศ. 2509
| 7 ตุลาคม</br>พ.ศ. 2512
| 7 ตุลาคม<br />พ.ศ. 2512
|
|
|-
|-
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
| [[วิลลี บรันท์]]
| [[วิลลี บรันท์]]
| [[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F057884-0009, Willy Brandt.jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F057884-0009, Willy Brandt.jpg|90px|]]
| 22 ตุลาคม</br>พ.ศ. 2512
| 22 ตุลาคม<br />พ.ศ. 2512
| 7 พฤษภาคม</br>พ.ศ. 2517
| 7 พฤษภาคม<br />พ.ศ. 2517
|
|
|-
|-
บรรทัด 71: บรรทัด 71:
| [[วอลเตอร์ สชีล]]
| [[วอลเตอร์ สชีล]]
| [[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1989-047-20, Walter Scheel.jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1989-047-20, Walter Scheel.jpg|90px|]]
| 7 พฤษภาคม</br>พ.ศ. 2517
| 7 พฤษภาคม<br />พ.ศ. 2517
| 16 พฤษภาคม</br>พ.ศ. 2517
| 16 พฤษภาคม<br />พ.ศ. 2517
|
|
|-
|-
บรรทัด 78: บรรทัด 78:
| [[เฮลมุท ชมิดท์]]
| [[เฮลมุท ชมิดท์]]
| [[ไฟล์:Helmut Schmidt (13.07.1977).jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Helmut Schmidt (13.07.1977).jpg|90px|]]
| 16 พฤษภาคม</br>พ.ศ. 2517
| 16 พฤษภาคม<br />พ.ศ. 2517
| 1 ตุลาคม</br>พ.ศ. 2525
| 1 ตุลาคม<br />พ.ศ. 2525
|
|
|-
|-
บรรทัด 85: บรรทัด 85:
| [[เฮลมุท โคล]]
| [[เฮลมุท โคล]]
| [[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F074398-0021 Kohl (cropped).jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F074398-0021 Kohl (cropped).jpg|90px|]]
| 1 ตุลาคม</br>พ.ศ. 2525
| 1 ตุลาคม<br />พ.ศ. 2525
| 27 ตุลาคม</br>พ.ศ. 2541
| 27 ตุลาคม<br />พ.ศ. 2541
|
|
|-
|-
บรรทัด 92: บรรทัด 92:
| [[แกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์]]
| [[แกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์]]
| [[ไฟล์:Gerhardschroeder01c.jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Gerhardschroeder01c.jpg|90px|]]
| 27 ตุลาคม</br>พ.ศ. 2541
| 27 ตุลาคม<br />พ.ศ. 2541
| 22 พฤศจิกายน</br>พ.ศ. 2548
| 22 พฤศจิกายน<br />พ.ศ. 2548
|
|
|-
|-
บรรทัด 99: บรรทัด 99:
| [[อังเกลา แมร์เคิล]]
| [[อังเกลา แมร์เคิล]]
| [[ไฟล์:Angela Merkel - Juli 2010 - 3zu4 cropped.jpg|90px|]]
| [[ไฟล์:Angela Merkel - Juli 2010 - 3zu4 cropped.jpg|90px|]]
| 22 พฤศจิกายน</br>พ.ศ. 2548
| 22 พฤศจิกายน<br />พ.ศ. 2548
| ปัจจุบัน
| ปัจจุบัน
|
|

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:00, 16 ธันวาคม 2560

นายกรัฐมนตรี
แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ตรา
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
อันเกลา แมร์เคิล

ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548
ผู้ประเดิมตำแหน่งออทโท ฟอน บิสมาร์ค
สถาปนา1 กรกฎาคม พ.ศ. 2410
21 มีนาคม พ.ศ. 2414
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2492
คนแรกคอนราด อเดเนาร์
เว็บไซต์www.bundeskanzlerin.de

นายกรัฐมนตรี[1] (เยอรมัน: Bundeskanzler; อังกฤษ: Chancellor) เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารประเทศเยอรมนี เป็นชื่อเรียกตำแหน่งเก่าแก่ เกิดขึ้นในสมัยที่เยอรมนีเพิ่งรวมประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมัน (Constitution of the German Empire 1871 AD) ในสมัยบิสมาร์คในปี ค.ศ. 1871 โดยรัฐต่าง ๆ ของเยอรมนีที่เป็นประเทศอิสระจากกันหลายประเทศ หลายแว่นแคว้น (ภายหลังการยกเลิกจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1815 โดยจักรพรรดินโปเลียนแห่งฝรั่งเศส) ได้เข้ามารวมกันภายใต้การนำของราชอาณาจักรปรัสเซีย

การร่างรัฐธรรมนูญครั้งนั้น กำหนดให้พระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรปรัสเซียเป็นประธานาธิบดีของสหพันธรัฐ แล้วเรียกชื่อว่า จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเยอรมัน จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเยอรมันจะทรงแต่งตั้งหัวหน้าฝ่ายบริหาร คือ นายกรัฐมนตรีเยอรมัน (German Chancellor) ที่เรียกชื่อตำแหน่งเช่นนี้ เนื่องจากเยอรมนีมีสภาพเป็นสหพันธรัฐ แต่ละรัฐหรือราชอาณาจักรในสหพันธรัฐ (เช่น ราชอาณาจักรปรัสเซีย, ราชอาณาจักรบาวาเรีย เป็นต้น) ต่างก็มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของตนเอง

เมื่อมีการร่างรัฐธรรมนูญใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่เยอรมนีเปลี่ยนไปเป็นระบบประธานาธิบดี หรือแม้แต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ระบบสหพันธรัฐก็ยังคงอยู่ (แม้ว่ายุคบิสมาร์กจะเรียกจักรวรรดิ แต่ในรัฐธรรมนูญนั้นยังเรียกว่าระบบสหพันธรัฐ) ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจึงยังคงเป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารไม่เปลี่ยนแปลง

ในสมัย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้รวมตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเข้ากับตำแหน่งประธานาธิบดีแล้วเรียกว่า "ฟือแรร์" (Führer) หลังสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีกลับไปใช้ระบบสหพันธรัฐและมีประธานาธิบดีเป็นประมุขเช่นเดิม หัวหน้าฝ่ายบริหารก็ยังคงเรียกแบบเดิมคือนายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรีคนล่าสุดคือ อันเกลา แมร์เคิล ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของเยอรมนี สังกัดพรรคสหภาพคริสเตียนเดโมแครต นางขึ้นดำรงตำแหน่งต่อจากแกร์ฮาร์ด ชโรเดอร์ จากพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยเยอรมนีในปี ค.ศ. 2005 และได้รับเลือกต่อเป็นสมัยที่สองในปี ค.ศ. 2009

รายนามนายกรัฐมนตรี

ที่ นาม ภาพ เริ่มต้น สิ้นสุด หมายเหตุ
1 คอนราด อเดเนาร์ 15 กันยายน
พ.ศ. 2492
11 ตุลาคม
พ.ศ. 2506
2 ลุดวิก แอร์ฮาร์ด 17 ตุลาคม
พ.ศ. 2506
30 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2509
3 คูร์ท เกออร์ก คีซิงเงอร์ 1 ธันวาคม
พ.ศ. 2509
7 ตุลาคม
พ.ศ. 2512
4 วิลลี บรันท์ 22 ตุลาคม
พ.ศ. 2512
7 พฤษภาคม
พ.ศ. 2517
- วอลเตอร์ สชีล 7 พฤษภาคม
พ.ศ. 2517
16 พฤษภาคม
พ.ศ. 2517
5 เฮลมุท ชมิดท์ 16 พฤษภาคม
พ.ศ. 2517
1 ตุลาคม
พ.ศ. 2525
6 เฮลมุท โคล 1 ตุลาคม
พ.ศ. 2525
27 ตุลาคม
พ.ศ. 2541
7 แกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์ 27 ตุลาคม
พ.ศ. 2541
22 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2548
8 อังเกลา แมร์เคิล 22 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2548
ปัจจุบัน

อ้างอิง

  1. สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์ (2547). ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม และคณะ (บ.ก.). สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: ยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (pdf). Vol. 1 (อักษร A-B) (3 ed.). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. p. 137. ISBN 974-9588-25-8. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2555.

แหล่งข้อมูลอื่น