ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเบสิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เอิร์ธ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
'''<''' : เครื่องหมายน้อยกว่า<br />
'''<''' : เครื่องหมายน้อยกว่า<br />
'''\''' : เครื่องหมายหารเต็มจำนวน<br />
'''\''' : เครื่องหมายหารเต็มจำนวน<br />
'''^''' : เครื่องหมายยกกำลัง<br />
'''^''' : เครื่องหมายยกกำลัง<br />ครวย


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:47, 2 พฤศจิกายน 2560

ภาษาเบสิก
กระบวนทัศน์ไม่มีโครงสร้างขั้นตอนต่อมาหลังจากเชิงวัตถุ
ผู้ออกแบบจอห์น จอห์จ เคเมนี และทอมัส ยูจีน เคิร์ต[1]
เริ่มเมื่อ1964 (1964)
ตัวแปลภาษาหลัก
แอปเปิลเบสิก, อาตาริเบสิก, ซินแชร์เบสิก, คอมโมดอร์เบสิก, ไมโครซอฟต์เบสิก, ไลเบอรีเบสิก, บีบีซีเบสิก, ทีไอ-เบสิก, วิชวลเบสิก
ได้รับอิทธิพลจาก
ALGOL 60, FORTRAN II, JOSS
ส่งอิทธิพลต่อ
COMAL, Visual Basic, Visual Basic .NET, Realbasic, GRASS, AutoIt, AutoHotkey

ภาษาเบสิก (BASIC programming language) เป็นภาษาโปรแกรมที่ออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย และยังได้รับความนิยมมาจนถึงทุกวันนี้ เบสิกออกแบบมาให้ใช้กับคอมพิวเตอร์ตามบ้าน

ชื่อภาษาเบสิก หรือ BASIC ย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ต้องเขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ

บริษัทไมโครซอฟท์ได้นำภาษาเบสิกมาปรับปรุงให้ทันสมัย และพัฒนาเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม Visual Basic ทำให้เบสิกได้รับความนิยมในการพัฒนาโปรแกรมยุคใหม่ รุ่นล่าสุดของวิชวลเบสิกเรียกว่า VB.NET

ประวัติของภาษา Basic

ภาษา Basic ถูกคิดค้นเมื่อปี 1963 โดย นาย John และ นาย Thomas Kurtz ณ Dartmouth College และบรรดานักเรียนนักศึกษาในความดูแลของพวกเขา ซึ่งหลายปีต่อมา ภาษา Basic ฉบับนี้ได้ชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Dartmouth BASIC.

ท่านสามารถดูการพัฒนา จาก Basic สู่ VB.NET

ภาษา Basic พื้นฐาน

ภาษา Basic นั้นเป็นโปรแกรมที่เป็นพื้นฐานสำหรับหัดเขียนโปรแกรมก็ว่าได้ เนื่องจากเป็นภาษาที่เป็นคำพูดของคนเราทั่วไป เช่น ดังนี้

การใช้คำสั่ง Print

PRINT "Hello World!"

เครื่องจะประมวลผลและแสดงผลออกมาเป็นข้อความ Hello world! ออกมาทางหน้าจอ

ประเภทของค่าในภาษา Basic

! : Single-precision
# : Double-precision
$ : String
% : Integer
& : Long

เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์

* : เครื่องหมายคูณ
- : เครื่องหมายลบ
= : เครื่องหมายแสดงความเท่ากันหรือตั่งค่า
> : เครื่องหมายมากกว่า
+ : เครื่องหมายบวก
. : จุดทศนิยม
< : เครื่องหมายน้อยกว่า
\ : เครื่องหมายหารเต็มจำนวน
^ : เครื่องหมายยกกำลัง
ครวย

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • BASIC ที่เว็บไซต์ Curlie