ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
*[[วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์]]
*[[วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์]]
*[[วิทยาเขตพระนครเหนือ]]
*[[วิทยาเขตพระนครเหนือ]]

== รายนามอธิการบดี ==
{| class="toccolours" width=100%
|-
| colspan = "2" style="background: #006600" align="center" |'''มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร'''
|-
! style="background: #33CC00" align="center"| รายนามอธิการบดี
! style="background: #33CC00" align="center"| วาระการดำรงตำแหน่ง
|-
| valign = "top" style="background: #99FF00" | 1. รศ.ดวงสุดา เตโชติรส
| valign = "top" style="background: #99FF00" | [[15 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2548]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00173759.PDF/ ประกาศวำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 9 ราย]ราชกิจานุเบกษา เล่ม 122 ตอน 88ง วันที่ 20 ตุลาคม 2548</ref> - [[14 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2552]]<br>15 สิงหาคม พ.ศ. 2552 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556
|-
| valign = "top" style="background: #99FF00" | ผศ.จุฑามาศ พีรพัชระ
| valign = "top" style="background: #99FF00" | 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556 - 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 (รักษาราชการแทน)
|-
| valign = "top" style="background: #99FF00" | รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์
| valign = "top" style="background: #99FF00" | 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2557 (รักษาราชการแทน)
|-
| valign = "top" style="background: #99FF00" | 2. รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์
| valign = "top" style="background: #99FF00" | 10 สิงหาคม พ.ศ. 2557 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 (รักษาราชการแทน)<br>1 ธันวาคม พ.ศ. 2557<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/246/5.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (นางสาวสุภัทรา โกไศยกานนท์)]</ref> - ปัจจุบัน
|-
|}


== คณะ ==
== คณะ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:06, 1 พฤศจิกายน 2560

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ไฟล์:ตรามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.gif
ชื่อย่อRMUTP
ประเภทมหาวิทยาลัยรัฐ
สถาปนา18 มกราคม พ.ศ. 2548
นายกสภามหาวิทยาลัยศาสตราจารย์ ไชยยศ เหมะรัชตะ
ที่ตั้ง
399 ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กทม. 10300
เว็บไซต์www.rmutp.ac.th

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Phra Nakhon) เน้นการจัดการศึกษา เพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมสิ่งทอ เสื้อผ้า แฟชั่น อาหาร การบริหารจัดการ และทักษะด้านธุรกิจ สามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความคิดสร้างสรรค์ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชีพ

ประวัติ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้รับการสถาปนาขึ้นในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ซึ่งดูเหมือนจะเป็นมหาวิทยาลัยใหม่ในสายตาของคนทั่วไป แต่ความจริงแล้วมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน และจัดเป็นสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงและมีความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพมาเป็นเวลาช้านาน จากเดิมที่รวมอยู่กับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลซึ่งเป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนสายวิชาชีพ อันประกอบด้วยวิทยาเขตต่าง ๆ มากกว่า 35 วิทยาเขตทั่วประเทศ และเมื่อมีการปรับเปลี่ยนสถานภาพจาก สถาบัน มาเป็น มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2548 ก็ได้มีการรวมกลุ่มวิทยาเขตในสังกัดแยกออกเป็น 9 มหาวิทยาลัย และหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่แยกอิสระออกมา ก็คือ “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร”

จนถึงปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยวิทยาเขตเดิม 5 แห่ง ที่มีพื้นที่ไม่ห่างไกลกันนัก ได้แก่

รายนามอธิการบดี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
รายนามอธิการบดี วาระการดำรงตำแหน่ง
1. รศ.ดวงสุดา เตโชติรส 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548[2] - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552
15 สิงหาคม พ.ศ. 2552 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ผศ.จุฑามาศ พีรพัชระ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556 - 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 (รักษาราชการแทน)
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2557 (รักษาราชการแทน)
2. รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2557 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 (รักษาราชการแทน)
1 ธันวาคม พ.ศ. 2557[3] - ปัจจุบัน

คณะ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร แบ่งการจัดการเรียนการสอน ออกเป็น 9 คณะ ได้แก่

การจัดอันดับมหาวิทยาลัย

การจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) ซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อแสดงความตั้งใจของสถาบันต่าง ๆ ในการเผยแพร่ความรู้สู่เว็บไซต์ และเป็นความริเริ่มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความรู้อย่างเปิดกว้าง (Open Access) ทั่วโลก โดยบ่งบอกถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน เพื่อใช้ร่วมกับตัวชี้วัดอื่น ๆ ในการประเมินผลงานวิจัยของสถาบัน ซึ่งทางเว็บโอเมตริกซ์ได้จัดอันดับปีละ 2 ครั้งในเดือนมกราคม และกรกฎาคม ล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยู่ในอันดับที่ 4,041 และอันดับที่ 33 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย[4]

บุคคลที่มีชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัย

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร