ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยวน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thucydides49 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ชาวไทยวน}}
{{ชาวไทยวน}}


'''ไทยวน''' (อ่านว่า ''ไท-ยวน'') หรือ '''ไตยวน''' (อ่านว่า ''ไต-ยวน'') เป็น[[กลุ่มชาติพันธุ์]][[ตระกูลภาษาไท-กะได]]กลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา ในอดีตคนล้านนามีหลายกลุ่มชาติพันธุ์ แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ "ไทยวน" ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน
'''ไทยวน''' (อ่านว่า ''ไท-ยวน'') หรือ '''ไตยวน''' (อ่านว่า ''ไต-ยวน'') เป็น[[กลุ่มประชากร]]ที่พูดภาษา[[ตระกูลภาษาไท-กะได]]กลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา "ไทยวน" เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน


ในปี พ.ศ. 2454 [[wikipedia:Daniel_McGilvary|แดเนียล แม็คกิลวารี]] ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 - 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว" เรียกคนในล้านนาว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมือง(อักษรล้านนา)ว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป
ในปี พ.ศ. 2454 [[wikipedia:Daniel_McGilvary|แดเนียล แม็คกิลวารี]] ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 - 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว" เรียกคนในล้านนาว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมือง(อักษรล้านนา)ว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:26, 31 ตุลาคม 2560

แม่แบบ:ชาวไทยวน

ไทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) เป็นกลุ่มประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาไท-กะไดกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา "ไทยวน" เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน

ในปี พ.ศ. 2454 แดเนียล แม็คกิลวารี ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 - 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว" เรียกคนในล้านนาว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมือง(อักษรล้านนา)ว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

อ้างอิง

  • สุรชัย จงจิตงาม. ท่องเที่ยว-เรียนรู้ ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง. [ม.ป.ท.] : [ม.ป.พ.], [ม.ป.ป.]. หน้า 16.