ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักบุญองค์อุปถัมภ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
คริสตชนนิรนาม (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Saint Joseph with the Infant Jesus by Guido Reni, c 1635.jpg|thumb|200px|right|[[นักบุญโยเซฟ]] องค์อุปถัมภ์[[คริสตจักร]]สากล]]
[[ไฟล์:Saint Joseph with the Infant Jesus by Guido Reni, c 1635.jpg|thumb|200px|right|[[นักบุญโยเซฟ]] องค์อุปถัมภ์[[คริสตจักร]]สากล]]
'''นักบุญองค์อุปถัมภ์'''<ref>[http://www.newadvent.org/cathen/11562a.htm Patron Saints], [[สารานุกรมคาทอลิก]]</ref> ({{lang-en|patron saint}}) คือ[[นักบุญ]]บน[[สวรรค์]] ซึ่งบาง[[คริสตจักร]] เช่น [[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] [[โรมันคาทอลิก]] หรือ[[ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์]] นับถือว่าเป็นผู้ที่ได้ใกล้ชิด[[พระยาห์เวห์]]และสามารถอ้อนวอนขอพรจากพระองค์เพื่อ[[พระคุณ (ศาสนาคริสต์)|พระหรรษทาน]]ในสิ่งต่าง ๆ แก่[[คริสต์ศาสนิกชน]]บน[[โลก]] เช่น สถานที่ อาชีพ กลุ่มบุคคล เป็นต้น<ref>{{cite book|last1=Slocum |first1=Robert Boak |last2=Armentrout|first2=Donald S.|title=An Episcopal Dictionary of the Church: A User-Friendly Reference for Episcopalians|url=http://books.google.com/books?id=y_RpbmWNfHcC&pg=PA390&lpg=PA390&dq=Patron+Saint+Anglican&source=bl&ots=TUIDzRoUpB&sig=0BTGf0qI5l2IvbbW6hcRcTmpj_I&hl=en&sa=X&ei=09haUJexOsaqywG6sICICg&ved=0CC8Q6AEwAA#v=onepage&q=Patron%20Saint%20Anglican&f=false|accessdate=3 November 2012|year=1999|publisher=Church Publishing, Inc.|language=English|isbn=0898692113}}</ref><ref>The American Heritage Dictionary of the English Language, Fourth Edition Copyright, [[Houghton Mifflin Company]].</ref>
'''นักบุญองค์อุปถัมภ์'''<ref>[http://www.newadvent.org/cathen/11562a.htm Patron Saints], [[สารานุกรมคาทอลิก]]</ref> ({{lang-en|patron saint}}) คือ[[นักบุญ]]บน[[สวรรค์]] ซึ่งบาง[[คริสตจักร]] เช่น [[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] [[โรมันคาทอลิก]] หรือ[[ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์]] นับถือว่าเป็นผู้ที่ได้ใกล้ชิด[[พระยาห์เวห์]]และสามารถอ้อนวอนขอพรจากพระองค์เพื่อ[[พระหรรษทาน]]ในสิ่งต่าง ๆ แก่[[คริสต์ศาสนิกชน]]บน[[โลก]] เช่น สถานที่ อาชีพ กลุ่มบุคคล เป็นต้น<ref>{{cite book|last1=Slocum |first1=Robert Boak |last2=Armentrout|first2=Donald S.|title=An Episcopal Dictionary of the Church: A User-Friendly Reference for Episcopalians|url=http://books.google.com/books?id=y_RpbmWNfHcC&pg=PA390&lpg=PA390&dq=Patron+Saint+Anglican&source=bl&ots=TUIDzRoUpB&sig=0BTGf0qI5l2IvbbW6hcRcTmpj_I&hl=en&sa=X&ei=09haUJexOsaqywG6sICICg&ved=0CC8Q6AEwAA#v=onepage&q=Patron%20Saint%20Anglican&f=false|accessdate=3 November 2012|year=1999|publisher=Church Publishing, Inc.|language=English|isbn=0898692113}}</ref><ref>The American Heritage Dictionary of the English Language, Fourth Edition Copyright, [[Houghton Mifflin Company]].</ref>


นักบุญต่าง ๆ มักได้รับยกย่องให้เป็นองค์อุปถัมภ์ในดินแดนที่ท่านเกิดหรือปฏิบัติศาสนกิจ ในบางกรณีสถานที่นั้นอาจไม่เกี่ยวข้องกับนักบุญขณะยังมีชีวิต แต่ได้เป็นที่ฝังศพหลังจากมรณกรรมก็ถือว่านักบุญนั้นเป็นองค์อุปถัมภ์เมืองนั้น ใน[[ลาตินอเมริกา]]มีหลายเมืองตั้งชื่อตามนักบุญ โดยถือว่านักเดินเรือชาวโปรตุเกสและสเปนมาถึงเมืองตรงกับวันฉลองนักบุญใด ผู้ค้นพบก็จะตั้งชื่อเมืองตามชื่อนักบุญนั้น ทำให้นักบุญนั้นได้กลายเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์เมืองในเวลาต่อมา
นักบุญต่าง ๆ มักได้รับยกย่องให้เป็นองค์อุปถัมภ์ในดินแดนที่ท่านเกิดหรือปฏิบัติศาสนกิจ ในบางกรณีสถานที่นั้นอาจไม่เกี่ยวข้องกับนักบุญขณะยังมีชีวิต แต่ได้เป็นที่ฝังศพหลังจากมรณกรรมก็ถือว่านักบุญนั้นเป็นองค์อุปถัมภ์เมืองนั้น ใน[[ลาตินอเมริกา]]มีหลายเมืองตั้งชื่อตามนักบุญ โดยถือว่านักเดินเรือชาวโปรตุเกสและสเปนมาถึงเมืองตรงกับวันฉลองนักบุญใด ผู้ค้นพบก็จะตั้งชื่อเมืองตามชื่อนักบุญนั้น ทำให้นักบุญนั้นได้กลายเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์เมืองในเวลาต่อมา


นักบุญองค์อุปถัมภ์[[วิชาชีพ]]มาจากอาชีพที่นักบุญนั้นเคยทำขณะยังมีชีวิตอยู่ หรือเคยแสดงการอัศจรรย์ซึ่งเทียบเทียงได้กับอาชีพนั้น ๆ เช่น [[นักบุญเวโรนีกา]]ผู้ถวายผ้าคลุมผมของตนให้พระเยซูใช้ซับ[[พระพักตร์ศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซู|พระพักตร์]]ระหว่าง[[มรรคาศักดิ์สิทธิ์|เดินทาง]]ไป[[การตรึงพระเยซูที่กางเขน|ตรึงกางเขน]] แล้วเกิดปาฏิหาริย์รอยพระพักตร์ปรากฏติดบนผ้าผืนนั้น คริสตจักรจึงยกย่องนักบุญเวโรนีกาเป็นองค์อุปถัมภ์[[การถ่ายภาพ]]
นักบุญองค์อุปถัมภ์[[วิชาชีพ]]มาจากอาชีพที่นักบุญนั้นเคยทำขณะยังมีชีวิตอยู่ หรือเคยแสดงการอัศจรรย์ซึ่งเทียบเทียมได้กับอาชีพนั้น ๆ เช่น [[นักบุญเวโรนีกา]]ผู้ถวายผ้าคลุมผมของตนให้พระเยซูใช้ซับ[[พระพักตร์ศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซู|พระพักตร์]]ระหว่าง[[มรรคาศักดิ์สิทธิ์|เดินทาง]]ไป[[การตรึงพระเยซูที่กางเขน|ตรึงกางเขน]] แล้วเกิดปาฏิหาริย์รอยพระพักตร์ปรากฏติดบนผ้าผืนนั้น คริสตจักรจึงยกย่องนักบุญเวโรนีกาเป็นองค์อุปถัมภ์[[การถ่ายภาพ]]


นิกาย[[โปรเตสแตนต์]]บางคณะ เช่น [[เพรสไบทีเรียน]] ไม่ยอมรับการนับถือหรือให้ความสำคัญกับนักบุญ เพราะถือว่าเข้าข่าย[[การบูชาเทวรูป]]<ref>Duke, AC "Calvinism in Europe, 1540-1610, A collection of Documents" P. 53.</ref>
นิกาย[[โปรเตสแตนต์]]บางคณะ เช่น [[เพรสไบทีเรียน]] ไม่ยอมรับการนับถือหรือให้ความสำคัญกับนักบุญ เพราะถือว่าเข้าข่าย[[การบูชาเทวรูป]]<ref>Duke, AC "Calvinism in Europe, 1540-1610, A collection of Documents" P. 53.</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:52, 3 ตุลาคม 2560

นักบุญโยเซฟ องค์อุปถัมภ์คริสตจักรสากล

นักบุญองค์อุปถัมภ์[1] (อังกฤษ: patron saint) คือนักบุญบนสวรรค์ ซึ่งบางคริสตจักร เช่น อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ โรมันคาทอลิก หรือออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ นับถือว่าเป็นผู้ที่ได้ใกล้ชิดพระยาห์เวห์และสามารถอ้อนวอนขอพรจากพระองค์เพื่อพระหรรษทานในสิ่งต่าง ๆ แก่คริสต์ศาสนิกชนบนโลก เช่น สถานที่ อาชีพ กลุ่มบุคคล เป็นต้น[2][3]

นักบุญต่าง ๆ มักได้รับยกย่องให้เป็นองค์อุปถัมภ์ในดินแดนที่ท่านเกิดหรือปฏิบัติศาสนกิจ ในบางกรณีสถานที่นั้นอาจไม่เกี่ยวข้องกับนักบุญขณะยังมีชีวิต แต่ได้เป็นที่ฝังศพหลังจากมรณกรรมก็ถือว่านักบุญนั้นเป็นองค์อุปถัมภ์เมืองนั้น ในลาตินอเมริกามีหลายเมืองตั้งชื่อตามนักบุญ โดยถือว่านักเดินเรือชาวโปรตุเกสและสเปนมาถึงเมืองตรงกับวันฉลองนักบุญใด ผู้ค้นพบก็จะตั้งชื่อเมืองตามชื่อนักบุญนั้น ทำให้นักบุญนั้นได้กลายเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์เมืองในเวลาต่อมา

นักบุญองค์อุปถัมภ์วิชาชีพมาจากอาชีพที่นักบุญนั้นเคยทำขณะยังมีชีวิตอยู่ หรือเคยแสดงการอัศจรรย์ซึ่งเทียบเทียมได้กับอาชีพนั้น ๆ เช่น นักบุญเวโรนีกาผู้ถวายผ้าคลุมผมของตนให้พระเยซูใช้ซับพระพักตร์ระหว่างเดินทางไปตรึงกางเขน แล้วเกิดปาฏิหาริย์รอยพระพักตร์ปรากฏติดบนผ้าผืนนั้น คริสตจักรจึงยกย่องนักบุญเวโรนีกาเป็นองค์อุปถัมภ์การถ่ายภาพ

นิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น เพรสไบทีเรียน ไม่ยอมรับการนับถือหรือให้ความสำคัญกับนักบุญ เพราะถือว่าเข้าข่ายการบูชาเทวรูป[4]

อ้างอิง

  1. Patron Saints, สารานุกรมคาทอลิก
  2. Slocum, Robert Boak; Armentrout, Donald S. (1999). An Episcopal Dictionary of the Church: A User-Friendly Reference for Episcopalians (ภาษาEnglish). Church Publishing, Inc. ISBN 0898692113. สืบค้นเมื่อ 3 November 2012.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  3. The American Heritage Dictionary of the English Language, Fourth Edition Copyright, Houghton Mifflin Company.
  4. Duke, AC "Calvinism in Europe, 1540-1610, A collection of Documents" P. 53.