ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าจิงกูจา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เอามาจากไหน
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
{{Burmese characters}}
{{Burmese characters}}


'''พระเจ้าจิงกูจา''' ({{lang-en|Singu Min}},{{lang-my|စဉ့်ကူးမင်း}}) พระโอรสของ[[พระเจ้ามังระ]] ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น [[พระเจ้าปดุง]] ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง โดยในระหว่างการครองราชพระองค์มีอารมณ์ฉุนเฉียวหวาดระแวงเนื่องจากทรงดื่มสุราอยู่เป็นนิจ เมื่อได้อำนาจมาพระองค์ก็ทรงปลด[[อะแซหวุ่นกี้]]แม่ทัพคู่บารมีของ[[พระเจ้ามังระ]]พระราชบิดาของพระองค์ลง ทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกกองทัพกลับมาจากการตี[[กรุงธนบุรี]] เพื่อมาควบคุมสถานะการในกรุงอังวะจนเรียบร้อยและมอบพระราชอำนาจเต็มแก่พระองค์ ซึ่งหากวิเคราะห์แล้วก็อาจเป็นเพราะอะแซหวุ่นกี้มีอำนาจและบารมีทางการทหารมากเกินไป รวมไปถึงแม่ทัพ ขุนนางเก่าใน[[พระเจ้ามังระ]]พระองค์ก็ทรงปลดทิ้งเสียจากตำแหน่งลงไปอีกหลายคน ซึ่งการใช้พระเดชเช่นนี้ทำให้ระหว่างการครองราชผู้คนรอบตัวต่างหวาดระแวงภัยที่อาจมาถึงตัวเมื่อใดก็ได้
'''พระเจ้าจิงกูจา''' ({{lang-en|Singu Min}},{{lang-my|စဉ့်ကူးမင်း}}) พระโอรสของ[[พระเจ้ามังระ]] ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น [[พระเจ้าปดุง]] ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง เมื่อได้อำนาจมาพระองค์ก็ทรงปลด[[อะแซหวุ่นกี้]]แม่ทัพคู่บารมีของ[[พระเจ้ามังระ]]พระราชบิดาของพระองค์ลง ทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกกองทัพกลับมาจากการตี[[กรุงธนบุรี]] เพื่อมาควบคุมสถานะการในกรุงอังวะจนเรียบร้อยและมอบพระราชอำนาจเต็มแก่พระองค์ ซึ่งหากวิเคราะห์แล้วก็อาจเป็นเพราะอะแซหวุ่นกี้มีอำนาจและบารมีทางการทหารมากเกินไป รวมไปถึงแม่ทัพ ขุนนางเก่าใน[[พระเจ้ามังระ]]พระองค์ก็ทรงปลดทิ้งเสียจากตำแหน่งลงไปอีกหลายคน ซึ่งการใช้พระเดชเช่นนี้ทำให้ระหว่างการครองราชผู้คนรอบตัวต่างหวาดระแวงภัยที่อาจมาถึงตัวเมื่อใดก็ได้


ในที่สุดหลังจากพระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียง5ปี ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ [[พระเจ้าหม่องหม่อง|หม่องหม่อง]] โอรสของ[[พระเจ้ามังลอก]] ทำการ[[รัฐประหาร]]ยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปสิงหดอที่ทางเหนือ โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้ง[[อะแซหวุ่นกี้]]ที่ทนต่อการบริหารราชการของพระองค์ไม่ได้) พระเจ้ามังหม่องจึงหลบหนีไปอยู่เมืองทางใต้
ในที่สุดหลังจากพระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียง5ปี ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ [[พระเจ้าหม่องหม่อง|หม่องหม่อง]] โอรสของ[[พระเจ้ามังลอก]] ทำการ[[รัฐประหาร]]ยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปสิงหดอที่ทางเหนือ โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้ง[[อะแซหวุ่นกี้]]ที่ทนต่อการบริหารราชการของพระองค์ไม่ได้) พระเจ้ามังหม่องจึงหลบหนีไปอยู่เมืองทางใต้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:29, 29 กันยายน 2560

พระเจ้าจิงกูจา
စဉ့်ကူးမင်း
King of Burma
Prince of Singu
ครองราชย์10 มิถุนายน 1776 – 5 กุมภาพันธ์ 1782 (ถูกปลด)[1]
ราชาภิเษก23 ธันวาคม ค.ศ.1776
ก่อนหน้าพระเจ้ามังระ
SuccessorPhaungka Min
ประสูติ10 พฤษภาคม ค.ศ. 1756(1756-05-10)
กรุงอังวะ
สวรรคต14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1782(1782-02-14) (25 ปี)
กรุงอังวะ
ชายาShin Min
13 queens in total
พระราชบุตร6 ราชบุตร, 6 ราชธิดา
พระนามเต็ม
Min Ye Hla
ราชวงศ์ราชวงศ์คองบอง
พระราชบิดาพระเจ้ามังระ
พระราชมารดาMe Hla
ศาสนาพุทธศาสนา

พระเจ้าจิงกูจา (อังกฤษ: Singu Min,พม่า: စဉ့်ကူးမင်း) พระโอรสของพระเจ้ามังระ ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น พระเจ้าปดุง ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง เมื่อได้อำนาจมาพระองค์ก็ทรงปลดอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพคู่บารมีของพระเจ้ามังระพระราชบิดาของพระองค์ลง ทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกกองทัพกลับมาจากการตีกรุงธนบุรี เพื่อมาควบคุมสถานะการในกรุงอังวะจนเรียบร้อยและมอบพระราชอำนาจเต็มแก่พระองค์ ซึ่งหากวิเคราะห์แล้วก็อาจเป็นเพราะอะแซหวุ่นกี้มีอำนาจและบารมีทางการทหารมากเกินไป รวมไปถึงแม่ทัพ ขุนนางเก่าในพระเจ้ามังระพระองค์ก็ทรงปลดทิ้งเสียจากตำแหน่งลงไปอีกหลายคน ซึ่งการใช้พระเดชเช่นนี้ทำให้ระหว่างการครองราชผู้คนรอบตัวต่างหวาดระแวงภัยที่อาจมาถึงตัวเมื่อใดก็ได้

ในที่สุดหลังจากพระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียง5ปี ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ หม่องหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก ทำการรัฐประหารยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปสิงหดอที่ทางเหนือ โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้งอะแซหวุ่นกี้ที่ทนต่อการบริหารราชการของพระองค์ไม่ได้) พระเจ้ามังหม่องจึงหลบหนีไปอยู่เมืองทางใต้

พระเจ้าปดุงจึงให้สั่งทหาร ๒,๐๐๐ ยกขึ้นไปจับพระเจ้าจิงกุจา ได้ตัวมาพร้อมกับทั้งบุตรภรรยาและขุนนางทั้งปวง พระเจ้าปะดุงให้เอาพระเจ้าจิงกุจาถ่วงน้ำเสีย พระราชบุตรและนางสนมกับขุนนางพรรคพวกนั้น ให้ประหารชีวิตเสียสิ้น พระเจ้าจิงกุจาอยู่ในราชสมบัติได้ 5 ปีเศษ

พระเจ้าจิงกูจา มีชื่อเรียกในภาษาพม่าว่า "เซงกูเมง" [2][3]

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ cb-3
  2. เทปสนทนาเรื่อง วาระสุดท้าย...ของ อาณาจักรอยุธยาและราชวงศ์อลองพญา โดย ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ วีระ ธีรภัทร (เมษายน พ.ศ. 2544)
  3. "The Konbaung Dynasty Genealogy: King Singu".
ก่อนหน้า พระเจ้าจิงกูจา ถัดไป
พระเจ้ามังระ พระมหากษัตริย์พม่า
(อาณาจักรพม่ายุคที่ 3)

(พ.ศ. 2319 - พ.ศ. 2325)
พระเจ้าหม่องหม่อง