ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป็อป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อกวน 1 ครั้งของ 113.53.38.37 (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย Awksauce.ด้วย[[WP:iScript|...
Sard112 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| color = black
| color = black
| bgcolor = #87CEEB
| bgcolor = #87CEEB
| stylistic_origins = [[เพลงป็อปดั้งเดิม]]<ref>[http://www.allmusic.com/subgenre/traditional-pop-ma0000002961/artists Traditional Pop, ''Allmusic.com'']. Retrieved 25 August 2016</ref> [[ร็อกแอนด์โรล]] [[เพลงพื้นเมือง|โฟล์ก]]
| stylistic_origins = [[แจ๊ส]] [[ดนตรีโฟล์ก|โฟล์ก]] [[ดูวอป]] [[ริทึมแอนด์บลูส์|อาร์แอนด์บี]] [[แดนซ์]] [[ดนตรีคลาสสิก|คลาสสิก]] [[ร็อกแอนด์โรล]]
| cultural_origins = ทศวรรษที่ 1950 [[สหรัฐอเมริกา]], [[สหราชอาณาจักร]]
| cultural_origins = กลางทศวรรษที่ 1950 [[สหรัฐอเมริกา]], [[สหราชอาณาจักร]]
| instruments =
| instruments = [[กีตาร์]] [[กีตาร์เบส]] [[กลอง]] [[ดรัมแมชชีน]] [[เครื่องสังเคราะห์เสียง]]
| popularity = ได้รับความนิยมโดยตลอด
| derivativesก
| derivativesก
| subgenrelist =
| subgenrelist =
บรรทัด 16: บรรทัด 15:
| other_topics =
| other_topics =
}}
}}
'''ดนตรีป็อป''' หรือ '''เพลงป็อป''' ({{lang-en|pop music}}) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950<ref name=Firth2001>S. Frith, W. Straw, and J. Street, eds, ''[[Cambridge Companions to Music|The Cambridge Companion to Pop and Rock]]'' (Cambridge: Cambridge University Press), {{ISBN|0-521-55660-0}}, pp.&nbsp;95–105.</ref> ทั้ง "popular music" และ "pop music" มักจะใช้สลับกัน แม้ว่าในอดีตจะอธิบายถึงเพลงสมัยนิยมรวมทั้งดนตรีหลายแนว คำว่า "pop" กับ "rock" เคยมีความหมายเหมือนกันจนถึงปลายทศวรรษที่ 1960 ทั้งสองถูกจัดแยกให้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน


แม้ว่าป็อปจะถูกมองว่าเป็นเพียงชาร์ตเพลง แต่ไม่ได้รวบยอดชาร์ตเพลงทั้งหมด ดนตรีป็อปมักจะผสมผสานยืมองค์ประกอบจากดนตรีแนวอื่น เช่น เออร์เบิน แดนซ์ ร็อก ละติน และคันทรี โดยมักจะเป็นองค์ประกอบหลักที่นิยามว่าเป็นดนตรีป็อป โดยทั่วไปรูปแบบพื้นฐานจะเป็นเพลงที่มีความยาวสั้นถึงปานกลาง (ใช้รูปแบบท่อนเวิร์ส-คอรัส) รวมทั้งการใช้ท่อนคอรัสซ้ำ ๆ ท่อนเมโลดี้ไพเราะ และท่อนฮุก
[[ไฟล์:Michaeljacksonthriller.jpg|thumb|right|[[ไมเคิล แจ็คสัน]] เจ้าของฉายา King of Pop ]]
'''ดนตรีป็อป''' หรือ '''เพลงป็อป''' ({{lang-en|Pop music หรือ Pop song}}) เป็นแนวเพลงซึ่งมีลักษณะของโมโลดี้ที่ฟังง่าย ฟังสบาย และมีท่วงทำนองที่พริ้วไหว สามารถสร้างความสนุกสนานให้กับผู้ฟังได้ ดนตรีป็อบมักถูกนำมาผสมผสานกับกลิ่นอายของดนตรีแนวอื่น ๆ เช่น [[ร็อก]], [[แจ๊ส]], [[ฮิปฮอป]], [[เร้กเก้]], [[ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์]], [[ริทึมแอนด์บลูส์|อาร์แอนด์บี]], [[ฟังก์]] หรือแม้แต่[[ดนตรีโฟล์ก|โฟล์ก]]

== ประวัติ ==
เพลงป็อปถูกแต่งขึ้นเพื่อหวังว่ากลุ่มคนฟังกลุ่มใหญ่โดยได้แรงผลักดันจากค่ายเพลงใหญ่ เริ่มจากในดนตรีประเภท Ragtime จากนั้น Ragtime เริ่มมาทางสวิง จากนั้นก็เป็นดนตรี[[แจ๊ส]]ที่สามารถเต้นรำได้ ดนตรีป็อปสามารถรวมได้ถึง[[บลูส์]]ที่มีต้นกำเนิดจากคนผิวดำในอเมริกา และดนตรีคันทรีที่เริ่มปรับจนกลายเป็นแนว Rockabilly (เพลงร็อกแอนด์โรลล์ยุคแรก)

ในยุค 50 เพลง[[ร็อกแอนด์โรลล์]]ได้รับความนิยม มีศิลปินที่ได้รับความนิยมอย่าง[[เอลวิส เพรสลีย์]] ต่อมาในยุค 60 เป็นยุคของทีนไอดอลอย่างวง [[เดอะ บีทเทิลส์]], [[เดอะ บีชบอยส์]], [[คลิฟ ริชาร์ด]], [[โรลลิ่ง สโตนส์]], [[แซนดี ชอว์]] เป็นต้น

ในยุค 70 เป็นยุคของดนตรี[[ดิสโก้]] มีศิลปินอย่าง [[แอบบ้า]], [[บีจีส์]] และยังมีดนตรีประเภทคันทรีที่ได้รับความนิยมอย่าง [[ดิ อีเกิลส์]] หรือดนตรีป็อปที่ได้รับอิทธิพลจาก[[ร็อก]]อย่าง [[เดอะ คาร์เพ็นเทอร์ส]], [[ร็อด สจ๊วต]], [[คาร์ลี ไซมอน]], [[แฌร์]] เป็นต้น

ในยุค 80 มีศิลปินป็อปที่ได้รับความนิยมอย่าง [[ไมเคิล แจ็คสัน]], [[มาดอนน่า]], [[ทิฟฟานี (นักร้อง)|ทิฟฟานี]], [[เจเน็ท แจ็คสัน]]‎, [[ฟิล คอลลินส์]], [[แวม!]] ลักษณะดนตรีจะมีการใส่[[ดนตรีสังเคราะห์]]เข้าไป เพลงในยุคนี้ส่วนใหญ่จะเป็นเพลงเต้นรำและยังมีอิทธิพลถึงทางด้าน[[แฟชั่น]] ด้วย

ในยุค 90 เริ่มได้อิทธิพลจากเพลงแนว[[อาร์แอนด์บี]] เช่น [[มารายห์ แครี]], [[เดสทินี ไชลด์]], [[บอยซ์ ทู เม็น]], [[เอ็น โวค]], [[ทีแอลซี]] ในยุคนี้ยังมีวงบอยแบนด์ที่ได้รับความนิยมอย่าง [[นิว คิดส์ ออน เดอะ บล็อก]], [[เทค แดท]], [[แบ็คสตรีท บอยส์]]

ในยุค 2000 มีศิลปินที่ประสบความสำเร็จอย่าง [[บียอนเซ่]], [[บริทย์นี สเปียร์]], [[เลดี้ กาก้า]], [[คริสติน่า อากีเลร่า]], [[แบล็ค อายด์ พีส์]], [[จัสติน ทิมเบอร์เลค]] ส่วนเทรนป็อปอื่นเช่นแนว [[ป็อป-พังค์]] อย่างวง [[ซิมเปิ้ล แพลน]], [[เอฟริล ลาวีน]] และแนว [[ป็อป-ร็อก]] อย่าง [[พิงก์]] รวมถึงการเกิดรายการสุดฮิต [[อเมริกัน ไอดอล]]ที่สร้างศิลปินอย่าง [[เคลลี่ คลาร์กสัน]] และ [[เคลย์ ไอเคน]]
แนวเพลงป็อปและอาร์แอนด์บีเริ่มรวมกัน มีลักษณะเพลงป็อปที่เพิ่มความเป็นอาร์แอนด์บีมากขึ้นอย่าง [[เนลลี เฟอร์ตาโด]], [[ริฮานนา]], จัสติน ทิมเบอร์เลค เป็นต้น


==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikiquote}}
* [http://www.popjustice.com/ PopJustice.com]
* [https://web.archive.org/web/20170407053620/http://musiclife.mobi/filelist/1017/sabrang_%282017%29_mp3/new2old/1 The Consumption of Music and the Expression of Values: A Social Economic Explanation for the Advent of Pop Music], Wilfred Dolfsma, ''[[American Journal of Economics and Sociology]]'', October 1999
* [http://gpwu.ac.jp/~biddle/youth.htm Youth and Pop Music]
{{commons category|Pop music}}


[[หมวดหมู่:ดนตรีป็อป]]
[[หมวดหมู่:ดนตรีป็อป]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:49, 26 กันยายน 2560

ดนตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (อังกฤษ: pop music) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950[2] ทั้ง "popular music" และ "pop music" มักจะใช้สลับกัน แม้ว่าในอดีตจะอธิบายถึงเพลงสมัยนิยมรวมทั้งดนตรีหลายแนว คำว่า "pop" กับ "rock" เคยมีความหมายเหมือนกันจนถึงปลายทศวรรษที่ 1960 ทั้งสองถูกจัดแยกให้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน

แม้ว่าป็อปจะถูกมองว่าเป็นเพียงชาร์ตเพลง แต่ไม่ได้รวบยอดชาร์ตเพลงทั้งหมด ดนตรีป็อปมักจะผสมผสานยืมองค์ประกอบจากดนตรีแนวอื่น เช่น เออร์เบิน แดนซ์ ร็อก ละติน และคันทรี โดยมักจะเป็นองค์ประกอบหลักที่นิยามว่าเป็นดนตรีป็อป โดยทั่วไปรูปแบบพื้นฐานจะเป็นเพลงที่มีความยาวสั้นถึงปานกลาง (ใช้รูปแบบท่อนเวิร์ส-คอรัส) รวมทั้งการใช้ท่อนคอรัสซ้ำ ๆ ท่อนเมโลดี้ไพเราะ และท่อนฮุก

อ้างอิง

  1. Traditional Pop, Allmusic.com. Retrieved 25 August 2016
  2. S. Frith, W. Straw, and J. Street, eds, The Cambridge Companion to Pop and Rock (Cambridge: Cambridge University Press), ISBN 0-521-55660-0, pp. 95–105.

แหล่งข้อมูลอื่น