ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tktoo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| native_name =
| native_name =
| ชื่ออังกฤษ = Bunditpatanasilpa Institute
| ชื่ออังกฤษ = Bunditpatanasilpa Institute
| image = [[ไฟล์:ตราสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.jpg|150px]]
| image = [[ไฟล์:Logo-BPI.png|180px]]
| caption =
| caption =
| ที่ตั้ง = ถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพฯ]] 10200
| ที่ตั้ง = ถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพฯ]] 10200

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:13, 10 กันยายน 2560

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ไฟล์:Logo-BPI.png
ประเภทรัฐ
อธิการบดีอ.นิภา โสภาสัมฤทธิ์[1]
อธิการบดีอ.นิภา โสภาสัมฤทธิ์[1]
นายกสภาฯศ.(กิตติคุณ) ดร.วิษณุ เครืองาม
ที่ตั้ง
ถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
สี  สีเขียว
เว็บไซต์www.bpi.ac.th

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรมด้วย [2]

ประวัติ

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถานศึกษาเฉพาะทางในด้านนาฏดุริยางค์ และช่างศิลป ก่อตั้งขึ้นมาเมื่อ พ.ศ. 2541[3] ในสังกัดกรมศิลปากร เพื่อดูแลด้านศิลปวัฒนธรรมของประเทศ โดยแบ่งออกเป็น

  • สถานศึกษาทางด้านนาฏดุริยางค์ ได้แก่ โรงเรียนศิลปากร แผนกนาฏดุริยางค์ ซึ่งได้พัฒนาขึ้นเป็น โรงเรียนสังคีตศิลป์ โรงเรียนนาฏศิลป และวิทยาลัยนาฏศิลป์ ในปัจจุบัน
  • สถานศึกษาทางด้านช่างศิลป ได้แก่ โรงเรียนศิลปศึกษา และได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัยช่างศิลป

ต่อมา พ.ศ. 2545 จึงมีการจัดตั้ง "สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์" ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ในการจัดการศึกษาทางด้านศิลปและวัฒนธรรมโดยตรง ในสังกัดกรมศิลปากร และปัจจุบันแยกออกมาเป็นหน่วยงานที่เทียบเท่ากรมในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม[4] และในปี พ.ศ. 2550 ได้รับการจัดตั้งเป็นสถาบันอุดมศึกษานิติบุคคล[5]

ไฟล์:พระราชทานปริญญาบัตรพัฒนศิลป์.jpg
พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2552

การพระราชทานปริญญาบัตร

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา จากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร

สัญลักษณ์ประจำสถาบัน

  • ตราประจำสถาบัน ได้แก่ พระพิฆเณศวร์ประทับนั่งในกรอบวงกลม ด้านบนมีลวดลายไทยยกสูง ด้านล่างกรอบเป็นแถบริบบิ้น ภายในมีชื่อ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ [6]
  • สีประจำสถาบัน ได้แก่ สีเขียว

หน่วยงาน

คณะ

วิทยาลัยนาฏศิลป

วิทยาลัยช่างศิลป

หน่วยงานและหลักสูตร


หน่วยงาน ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
คณะศิลปวิจิตร

หลักสูตรศิลปบัณฑิต

คณะศิลปนาฎดุริยางค์

หลักสูตรศิลปบัณฑิต

หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต

คณะศิลปศึกษา

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.)

บุคคลที่มีชื่อเสียงจากสถาบัน

อ้างอิง

  1. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/220/22.PDF
  2. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑
  3. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ (กำหนดให้สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์เป็นส่วนราชการในกรมศิลปากร และกำหนดอำนาจหน้าที่ของสถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และสถาบันศิลปกรรมเสียใหม่)ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 115 ตอนที่ 78 ก วันที่ 30 ตุลาคม 2541
  4. ประวัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
  5. พระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ๒๕๕๐ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 32ก วันที่ 9 กรกฎาคม 2550
  6. ข้อบังคับสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ว่าด้วยเครื่องหมายสถาบัน เครื่องแบบ เครื่องหมาย และเครื่องแต่งกายนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓
  7. http://cfasp.bpi.ac.th/
  8. http://cfans.bpi.ac.th/

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น