ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวิญญาณบริสุทธิ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Dogsunnye (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
Lephill (คุย | ส่วนร่วม)
ใช้ศัพท์ "พระลักษณะ" แทน "พระบุคคล" เพราะพระบุคคลคือสามองค์ไม่เป็นพระเจ้าเดียว
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''พระวิญญาณบริสุทธิ์''' (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ '''พระจิต''' (ศัพท์คาทอลิกและออร์ทอดอกซ์) ({{lang-en|Holy Spirit; Holy Ghost}}) เป็น[[สปิริต|วิญญาณ]]ชนิดหนึ่งตามความเชื่อใน[[ศาสนาอับราฮัม]] อันได้แก่ [[ศาสนายูดาห์]] [[ศาสนาคริสต์]] และ[[ศาสนาอิสลาม]] แต่แต่ละศาสนาก็มีความเชื่อเกี่ยวกับพระวิญญาณบริสุทธิ์แตกต่างกัน
'''พระวิญญาณบริสุทธิ์''' (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ '''พระจิต''' (ศัพท์คาทอลิกและออร์ทอดอกซ์) ({{lang-en|Holy Spirit; Holy Ghost}}) เป็น[[สปิริต|วิญญาณ]]ชนิดหนึ่งตามความเชื่อใน[[ศาสนาอับราฮัม]] อันได้แก่ [[ศาสนายูดาห์]] [[ศาสนาคริสต์]] และ[[ศาสนาอิสลาม]] แต่แต่ละศาสนาก็มีความเชื่อเกี่ยวกับพระวิญญาณบริสุทธิ์แตกต่างกัน


คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่ (นิกาย[[โรมันคาทอลิก]] [[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] และ[[โปรเตสแตนต์]]) เชื่อเรื่อง[[ตรีเอกภาพ]] โดยถือว่าพระเจ้าพระองค์เดียวนั้นทรงมีสามพระบุคคลแตกต่างกัน คือ [[พระเจ้าพระบิดา|พระบิดา]] [[พระเจ้าพระบุตร|พระบุตร]] และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ดังนั้นจึงถือพระวิญญาณบริสุทธิ์เป็นพระเจ้าด้วย แต่คริสต์ศาสนิกชนอีกหลายนิกาย (เช่น [[พยานพระยะโฮวา]]) รวมทั้งศาสนาอับราฮัมอื่น ๆ (คือ[[ชาวยิว]]และชาว[[มุสลิม]]) ก็ไม่ยอมรับความเชื่อนี้<ref>''Systematic Theology'' by Lewis Sperry Chafer 1993 ISBN 0825423406 page 25</ref><ref>''The Wiersbe Bible Commentary: The Complete New Testament'' by Warren W. Wiersbe 2007 ISBN 9780781445399 page 471</ref>
คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่ (นิกาย[[โรมันคาทอลิก]] [[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] และ[[โปรเตสแตนต์]]) เชื่อเรื่อง[[ตรีเอกภาพ]] โดยถือว่าพระเจ้าเดียวนั้นทรงมีสามพระลักษณะที่แตกต่างกัน คือ [[พระเจ้าพระบิดา|พระบิดา]] [[พระเจ้าพระบุตร|พระบุตร]] และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ดังนั้นจึงถือพระวิญญาณบริสุทธิ์เป็นพระเจ้าด้วย แต่คริสต์ศาสนิกชนอีกหลายนิกาย (เช่น [[พยานพระยะโฮวา]]) รวมทั้งศาสนาอับราฮัมอื่น ๆ (คือ[[ชาวยิว]]และชาว[[มุสลิม]]) ก็ไม่ยอมรับความเชื่อนี้<ref>''Systematic Theology'' by Lewis Sperry Chafer 1993 ISBN 0825423406 page 25</ref><ref>''The Wiersbe Bible Commentary: The Complete New Testament'' by Warren W. Wiersbe 2007 ISBN 9780781445399 page 471</ref>


== ศาสนายูดาห์ ==
== ศาสนายูดาห์ ==
คำว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” ปรากฏเพียงสามครั้งใน[[คัมภีร์ฮีบรู]] (ในสดุดี 51:11 และอีกสองครั้งใน อิสยาห์ 63:10,11) ขณะที่คำว่า “พระวิญญาณ” ที่หมายถึง “พระวิญญาณของพระเจ้า” จะปรากฏบ่อยครั้งกว่า [[ศาสนายูดาห์]]เชื่อว่าพระเจ้ามีหนึ่งเดียวเท่านั้น ดังนั้นไม่ว่าแนวคิดแบบ[[ทวิเอกภาพนิยม]] (ที่ว่าพระเจ้าเดียวมีสองพระบุคคล) หรือ[[ตรีเอกภาพ]]นิยม (ที่ว่าพระเจ้าเดียวมีสามพระบุคคล) ศาสนายูดาห์ก็ถือว่าไม่ใช่แนวคิดแบบเอกเทวนิยมอย่างแท้จริง คำว่า “[[รวค ฮาโกเดช]]” (Holy Spirit) ปรากฏหลายครั้งในวรรณคดี[[ทาลมุด]]และ[[มิดราช]] โดยใช้หมายถึงการดลใจ[[ผู้เผยพระวจนะ]] และบางครั้งก็หมายถึงพระเจ้าเอง<ref>Alan Unterman and Rivka Horowitz,Ruah ha-Kodesh, Encyclopedia Judaica (CD-ROM Edition, Jerusalem: Judaica Multimedia/Keter, 1997).</ref> คำว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” ในภาษารับบี แม้ว่ามักใช้ในเชิงเป็นบุคคล แต่ยังคงหมายถึง “คุณภาวะของพระเจ้า ซึ่งเป็นคุณลักษณะอย่างหนึ่งของพระองค์” ต่างจากศาสนาคริสต์กระแสหลักที่มองว่าพระวิญญาณบริสุทธิ์เป็น “ภาคทางอภิปรัชญาของเทวสภาพ” <ref>Joseph Abelson,''The Immanence of God in Rabbinical Literature'' (London:Macmillan and Co., 1912).</ref>
คำว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” ปรากฏเพียงสามครั้งใน[[คัมภีร์ฮีบรู]] (ในสดุดี 51:11 และอีกสองครั้งใน อิสยาห์ 63:10,11) ขณะที่คำว่า “พระวิญญาณ” ที่หมายถึง “พระวิญญาณของพระเจ้า” จะปรากฏบ่อยครั้งกว่า [[ศาสนายูดาห์]]เชื่อว่าพระเจ้ามีหนึ่งเดียวเท่านั้น ดังนั้นไม่ว่าแนวคิดแบบ[[ทวิเอกภาพนิยม]] (ที่ว่าพระเจ้าเดียวมีสองพระลักษณะ) หรือ[[ตรีเอกภาพ]]นิยม (ที่ว่าพระเจ้าเดียวมีสามพระลักษณะ) ศาสนายูดาห์ก็ถือว่าไม่ใช่แนวคิดแบบเอกเทวนิยมอย่างแท้จริง คำว่า “[[รวค ฮาโกเดช]]” (Holy Spirit) ปรากฏหลายครั้งในวรรณคดี[[ทาลมุด]]และ[[มิดราช]] โดยใช้หมายถึงการดลใจ[[ผู้เผยพระวจนะ]] และบางครั้งก็หมายถึงพระเจ้าเอง<ref>Alan Unterman and Rivka Horowitz,Ruah ha-Kodesh, Encyclopedia Judaica (CD-ROM Edition, Jerusalem: Judaica Multimedia/Keter, 1997).</ref> คำว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” ในภาษารับบี แม้ว่ามักใช้ในเชิงเป็นบุคคล แต่ยังคงหมายถึง “คุณภาวะของพระเจ้า ซึ่งเป็นคุณลักษณะอย่างหนึ่งของพระองค์” ต่างจากศาสนาคริสต์กระแสหลักที่มองว่าพระวิญญาณบริสุทธิ์เป็น “ภาคทางอภิปรัชญาของเทวสภาพ” <ref>Joseph Abelson,''The Immanence of God in Rabbinical Literature'' (London:Macmillan and Co., 1912).</ref>


ในศาสนายูดาห์ จึงมีการกล่าวถึง “พระวิญญาณของพระเจ้า” “พระวิญญาณบริสุทธิ์ของพระยาห์เวห์” อยู่หลายครั้ง แต่ปฏิเสธความเชื่อเรื่องพระเจ้ามีสองหรือสามพระบุคคล
ในศาสนายูดาห์ จึงมีการกล่าวถึง “พระวิญญาณของพระเจ้า” “พระวิญญาณบริสุทธิ์ของพระยาห์เวห์” อยู่หลายครั้ง แต่ปฏิเสธความเชื่อเรื่องพระเจ้ามีสองหรือสามพระบุคคล


== ศาสนาคริสต์ ==
== ศาสนาคริสต์ ==
คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่ถือว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” คือพระบุคคลที่สามของพระเจ้าซึ่งเป็น[[ตรีเอกภาพ]] อันประกอบด้วยพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์<ref name=Erickson103>{{cite book| author = Millard J. Erickson| year = 1992| title = Introducing Christian Doctrine.| publisher = Baker Book House| page = 103}}</ref><ref name=Hammond>{{cite book| author = T C Hammond| coauthors = Revised and edited by David F Wright| year = 1968| title = In Understanding be Men:A Handbook of Christian Doctrine.| edition= sixth| publisher = [[Inter-Varsity Press]]| pages = 54–56 and 128–131}}</ref><ref name=cathhs>{{cite web|title=Catholic Encyclopedia:Holy Spirit|url=http://www.newadvent.org/cathen/07409a.htm}}</ref> คริสตชนเชื่อว่าพระวิญญาณบริสุทธิ์นี้เป็นผู้เปิดเผยพระนามอันศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์ว่า “[[พระยาห์เวห์|ยาห์เวห์]]”<ref>สมาคมพระคริสตธรรมไทย, ''พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011''</ref> ต่อประชาชนชาวอิสราเอล และเป็นผู้ส่งพระบุตรคือพระเยซูมาช่วยประชาชนนั้นให้รอดจาก[[การลงโทษของพระเจ้า|พระพิโรธ]] และส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มาเพื่อชำระและประทานชีวิตแก่[[คริสตจักร]]<ref name=Catholic_Catechism_Holy_Name>{{cite web|title=Catechism of the Catholic Church: GOD REVEALS HIS NAME|url=http://www.vatican.va/archive/ENG0015/_P16.HTM#BK}}</ref><ref name=Summa_Theologica_Procession_of_Divine_Persons>{{cite book| title=The Summa Theologica: First Part - The Procession of the Divine Persons|author=St. Thomas Aquinas|year=1920|edition=second and revised edition (Literally translated by Fathers of the English Dominican Province)|url=http://www.newadvent.org/summa/1027.htm#article1}}</ref><ref name=Mystici_Corporis_Christi>{{cite book|title=Mystici Corporis Christi|author=Pope Pius XII|year=1943|url=http://www.papalencyclicals.net/Pius12/P12MYSTI.HTM#fn39}}</ref> พระเจ้าที่ทรงเป็นตรีเอกภาพนี้มีสาม “พระบุคคล”<ref name=Catholic_Encyclopedia>See discussion in {{CathEncy|wstitle=Person}}</ref> แต่เป็นภาวะพระเจ้าเดียว<ref name=Systematic_theology>Grudem, Wayne A. 1994. ''Systematic Theology: An Introduction to Biblical Doctrine.'' Leicester, England: Inter-Varsity Press; Grand Rapids, MI: [[Zondervan]]. Page 226.</ref> ซึ่งเรียกว่า[[เทวภาพ]] (Godhood) ซึ่งเป็นพระสารัตถะของพระเจ้า <ref name=Catholic_Catechism_Trinity>{{cite web|title=Catechism of the Catholic Church: The Dogma of the Holy trinity|url=http://www.vatican.va/archive/ENG0015/_P17.HTM#1FT}}</ref>
คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่ถือว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” คือพระลักษณะที่สามของพระเจ้าซึ่งเป็น[[ตรีเอกภาพ]] อันประกอบด้วยพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์<ref name=Erickson103>{{cite book| author = Millard J. Erickson| year = 1992| title = Introducing Christian Doctrine.| publisher = Baker Book House| page = 103}}</ref><ref name=Hammond>{{cite book| author = T C Hammond| coauthors = Revised and edited by David F Wright| year = 1968| title = In Understanding be Men:A Handbook of Christian Doctrine.| edition= sixth| publisher = [[Inter-Varsity Press]]| pages = 54–56 and 128–131}}</ref><ref name=cathhs>{{cite web|title=Catholic Encyclopedia:Holy Spirit|url=http://www.newadvent.org/cathen/07409a.htm}}</ref> คริสตชนเชื่อว่าพระวิญญาณบริสุทธิ์นี้เป็นผู้เปิดเผยพระนามอันศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์ว่า “[[พระยาห์เวห์|ยาห์เวห์]]”<ref>สมาคมพระคริสตธรรมไทย, ''พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011''</ref> ต่อประชาชนชาวอิสราเอล และเป็นผู้ส่งพระบุตรคือพระเยซูมาช่วยประชาชนนั้นให้รอดจาก[[การลงโทษของพระเจ้า|พระพิโรธ]] และส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มาเพื่อชำระและประทานชีวิตแก่[[คริสตจักร]]<ref name=Catholic_Catechism_Holy_Name>{{cite web|title=Catechism of the Catholic Church: GOD REVEALS HIS NAME|url=http://www.vatican.va/archive/ENG0015/_P16.HTM#BK}}</ref><ref name=Summa_Theologica_Procession_of_Divine_Persons>{{cite book| title=The Summa Theologica: First Part - The Procession of the Divine Persons|author=St. Thomas Aquinas|year=1920|edition=second and revised edition (Literally translated by Fathers of the English Dominican Province)|url=http://www.newadvent.org/summa/1027.htm#article1}}</ref><ref name=Mystici_Corporis_Christi>{{cite book|title=Mystici Corporis Christi|author=Pope Pius XII|year=1943|url=http://www.papalencyclicals.net/Pius12/P12MYSTI.HTM#fn39}}</ref> พระเจ้าที่ทรงเป็นตรีเอกภาพนี้มีสาม “พระลักษณะ”<ref name=Catholic_Encyclopedia>See discussion in {{CathEncy|wstitle=Person}}</ref> แต่เป็นภาวะพระเจ้าเดียว<ref name=Systematic_theology>Grudem, Wayne A. 1994. ''Systematic Theology: An Introduction to Biblical Doctrine.'' Leicester, England: Inter-Varsity Press; Grand Rapids, MI: [[Zondervan]]. Page 226.</ref> ซึ่งเรียกว่า[[เทวภาพ]] (Godhood) ซึ่งเป็นพระสารัตถะของพระเจ้า <ref name=Catholic_Catechism_Trinity>{{cite web|title=Catechism of the Catholic Church: The Dogma of the Holy trinity|url=http://www.vatican.va/archive/ENG0015/_P17.HTM#1FT}}</ref>


ใน[[จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย]] [[เปาโลอัครทูต]]กล่าวว่า[[ผลของพระวิญญาณบริสุทธิ์]] คือ ความรัก ความปลาบปลื้มใจ สันติสุข ความอดกลั้นใจ ความปรานี ความดี ความเชื่อ ความสุภาพอ่อนน้อม การรู้จักบังคับตน<ref>กาลาเทีย 5.22-26, พระคัมภีร์ภาษาไทยฉบับ KJV</ref>
ใน[[จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย]] [[เปาโลอัครทูต]]กล่าวว่า[[ผลของพระวิญญาณบริสุทธิ์]] คือ ความรัก ความปลาบปลื้มใจ สันติสุข ความอดกลั้นใจ ความปรานี ความดี ความเชื่อ ความสุภาพอ่อนน้อม การรู้จักบังคับตน<ref>กาลาเทีย 5.22-26, พระคัมภีร์ภาษาไทยฉบับ KJV</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:39, 4 กันยายน 2560

พระวิญญาณบริสุทธิ์ในรูปนกพิราบล้อมรอบด้วยบรรดาทูตสวรรค์ วาดโดยกอร์ราโด จีอากวินโต ราวคริสต์ทศวรรษ 1750

พระวิญญาณบริสุทธิ์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ พระจิต (ศัพท์คาทอลิกและออร์ทอดอกซ์) (อังกฤษ: Holy Spirit; Holy Ghost) เป็นวิญญาณชนิดหนึ่งตามความเชื่อในศาสนาอับราฮัม อันได้แก่ ศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม แต่แต่ละศาสนาก็มีความเชื่อเกี่ยวกับพระวิญญาณบริสุทธิ์แตกต่างกัน

คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่ (นิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และโปรเตสแตนต์) เชื่อเรื่องตรีเอกภาพ โดยถือว่าพระเจ้าเดียวนั้นทรงมีสามพระลักษณะที่แตกต่างกัน คือ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ดังนั้นจึงถือพระวิญญาณบริสุทธิ์เป็นพระเจ้าด้วย แต่คริสต์ศาสนิกชนอีกหลายนิกาย (เช่น พยานพระยะโฮวา) รวมทั้งศาสนาอับราฮัมอื่น ๆ (คือชาวยิวและชาวมุสลิม) ก็ไม่ยอมรับความเชื่อนี้[1][2]

ศาสนายูดาห์

คำว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” ปรากฏเพียงสามครั้งในคัมภีร์ฮีบรู (ในสดุดี 51:11 และอีกสองครั้งใน อิสยาห์ 63:10,11) ขณะที่คำว่า “พระวิญญาณ” ที่หมายถึง “พระวิญญาณของพระเจ้า” จะปรากฏบ่อยครั้งกว่า ศาสนายูดาห์เชื่อว่าพระเจ้ามีหนึ่งเดียวเท่านั้น ดังนั้นไม่ว่าแนวคิดแบบทวิเอกภาพนิยม (ที่ว่าพระเจ้าเดียวมีสองพระลักษณะ) หรือตรีเอกภาพนิยม (ที่ว่าพระเจ้าเดียวมีสามพระลักษณะ) ศาสนายูดาห์ก็ถือว่าไม่ใช่แนวคิดแบบเอกเทวนิยมอย่างแท้จริง คำว่า “รวค ฮาโกเดช” (Holy Spirit) ปรากฏหลายครั้งในวรรณคดีทาลมุดและมิดราช โดยใช้หมายถึงการดลใจผู้เผยพระวจนะ และบางครั้งก็หมายถึงพระเจ้าเอง[3] คำว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” ในภาษารับบี แม้ว่ามักใช้ในเชิงเป็นบุคคล แต่ยังคงหมายถึง “คุณภาวะของพระเจ้า ซึ่งเป็นคุณลักษณะอย่างหนึ่งของพระองค์” ต่างจากศาสนาคริสต์กระแสหลักที่มองว่าพระวิญญาณบริสุทธิ์เป็น “ภาคทางอภิปรัชญาของเทวสภาพ” [4]

ในศาสนายูดาห์ จึงมีการกล่าวถึง “พระวิญญาณของพระเจ้า” “พระวิญญาณบริสุทธิ์ของพระยาห์เวห์” อยู่หลายครั้ง แต่ปฏิเสธความเชื่อเรื่องพระเจ้ามีสองหรือสามพระบุคคล

ศาสนาคริสต์

คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่ถือว่า “พระวิญญาณบริสุทธิ์” คือพระลักษณะที่สามของพระเจ้าซึ่งเป็นตรีเอกภาพ อันประกอบด้วยพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์[5][6][7] คริสตชนเชื่อว่าพระวิญญาณบริสุทธิ์นี้เป็นผู้เปิดเผยพระนามอันศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์ว่า “ยาห์เวห์[8] ต่อประชาชนชาวอิสราเอล และเป็นผู้ส่งพระบุตรคือพระเยซูมาช่วยประชาชนนั้นให้รอดจากพระพิโรธ และส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มาเพื่อชำระและประทานชีวิตแก่คริสตจักร[9][10][11] พระเจ้าที่ทรงเป็นตรีเอกภาพนี้มีสาม “พระลักษณะ”[12] แต่เป็นภาวะพระเจ้าเดียว[13] ซึ่งเรียกว่าเทวภาพ (Godhood) ซึ่งเป็นพระสารัตถะของพระเจ้า [14]

ในจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย เปาโลอัครทูตกล่าวว่าผลของพระวิญญาณบริสุทธิ์ คือ ความรัก ความปลาบปลื้มใจ สันติสุข ความอดกลั้นใจ ความปรานี ความดี ความเชื่อ ความสุภาพอ่อนน้อม การรู้จักบังคับตน[15]

ศาสนาอิสลาม

ในศาสนาอิสลาม คำว่า "วิญญาณบริสุทธิ์" (อาหรับ: الروح القدس al-Ruh al-Qudus) ปรากฏหลายครั้งในคัมภีร์อัลกุรอาน โดยหมายถึงผู้ทำหน้าที่สื่อสารหรือปฏิบัติงานแทนพระเจ้า ในตำราหะดีษจึงระบุว่าวิญญาณบริสุทธิ์คือทูตสวรรค์ญิบรีล คำว่า "จิตวิญญาณ" (الروح al-Ruh) ในศาสนาอิสลามยังใช้หมายถึงวิญญาณจากพระเจ้าที่สร้างสรรค์และให้ชีวิตแก่นบีอาดัม และเป็นผู้ดลใจเหล่าทูตสวรรค์และผู้เผยพระวจนะ ตามอัลกุรอานความเชื่อว่าพระเจ้าทรงเป็นตรีเอกภาพหรือทวิเอกภาพถือเป็นเรื่องต้องห้ามและผู้เชื่อถือว่าทำบาปหนัก[16][17] นอกจากนี้คำว่าวิญญาณบริสุทธิ์ในภาษาอาหรับยังอยู่ในรูปเพศชายเสมอในอัลกุรอาน (แต่เพศทางไวยากรณ์อาจจะไม่เกี่ยวกับเพศทางกายภาพ)

อ้างอิง

  1. Systematic Theology by Lewis Sperry Chafer 1993 ISBN 0825423406 page 25
  2. The Wiersbe Bible Commentary: The Complete New Testament by Warren W. Wiersbe 2007 ISBN 9780781445399 page 471
  3. Alan Unterman and Rivka Horowitz,Ruah ha-Kodesh, Encyclopedia Judaica (CD-ROM Edition, Jerusalem: Judaica Multimedia/Keter, 1997).
  4. Joseph Abelson,The Immanence of God in Rabbinical Literature (London:Macmillan and Co., 1912).
  5. Millard J. Erickson (1992). Introducing Christian Doctrine. Baker Book House. p. 103.
  6. T C Hammond (1968). In Understanding be Men:A Handbook of Christian Doctrine (sixth ed.). Inter-Varsity Press. pp. 54–56 and 128–131. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  7. "Catholic Encyclopedia:Holy Spirit".
  8. สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011
  9. "Catechism of the Catholic Church: GOD REVEALS HIS NAME".
  10. St. Thomas Aquinas (1920). The Summa Theologica: First Part - The Procession of the Divine Persons (second and revised edition (Literally translated by Fathers of the English Dominican Province) ed.).
  11. Pope Pius XII (1943). Mystici Corporis Christi.
  12. See discussion in Herbermann, Charles, บ.ก. (1913). "Person" . สารานุกรมคาทอลิก. New York: Robert Appleton Company.
  13. Grudem, Wayne A. 1994. Systematic Theology: An Introduction to Biblical Doctrine. Leicester, England: Inter-Varsity Press; Grand Rapids, MI: Zondervan. Page 226.
  14. "Catechism of the Catholic Church: The Dogma of the Holy trinity".
  15. กาลาเทีย 5.22-26, พระคัมภีร์ภาษาไทยฉบับ KJV
  16. Griffith, Sidney H. Holy Spirit, Encyclopaedia of the Quran.
  17. Patrick Hughes, Thomas Patrick Hughes, A Dictionary of Islam, p. 605.