ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาหารขยะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WapBot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: แทนที่หมวดหมู่ อาหารทานเล่น ด้วย อาหารว่าง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''อาหารขยะ''' ({{lang-en|junk food}}) เป็นคำใช้กับอาหารที่มี[[แคลอรี]]จาก[[น้ำตาล]]หรือ[[ไขมัน]]สูง โดยมี[[โปรตีน]] [[วิตามิน]]หรือ[[เกลือแร่]]ต่ำ การใช้คำนี้ส่อว่า อาหารนั้น ๆ มี "คุณค่าทางโภชนาการ" ต่ำและมีไขมัน น้ำตาล เกลือและแคลอรีมากเกิน<ref>{{cite web | url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/junk%20food | title=junk food | publisher=Merriam-Webster Dictionary | accessdate=13 March 2015}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.macmillandictionary.com/dictionary/british/junk-food | title=junk food | publisher=Macmillan Dictionary | accessdate=13 March 2015}}</ref><ref name="bbcnews1">{{cite news|last=O'Neill|first=Brendon|title=Is this what you call junk food?|publisher=[[BBC News]]|date=November 30, 2006|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/uk_news/magazine/6187234.stm |accessdate=June 29, 2010}}</ref>
'''อาหารขยะ''' ({{lang-en|junk food}}) เป็นคำใช้กับอาหารที่มี[[แคลอรี]]จาก[[น้ำตาล]]หรือ[[ไขมัน]]สูง โดยมี[[โปรตีน]] [[วิตามิน]]หรือ[[เกลือแร่]]ต่ำ การใช้คำนี้ส่อว่า อาหารนั้น ๆ มี "คุณค่าทางโภชนาการ" ต่ำและมีไขมัน น้ำตาล เกลือและแคลอรีมากเกิน<ref>{{cite web | url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/junk%20food | title=junk food | publisher=Merriam-Webster Dictionary | accessdate=13 March 2015}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.macmillandictionary.com/dictionary/british/junk-food | title=junk food | publisher=Macmillan Dictionary | accessdate=13 March 2015}}</ref><ref name="bbcnews1">{{cite news|last=O'Neill|first=Brendon|title=Is this what you call junk food?|publisher=[[BBC News]]|date=November 30, 2006|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/uk_news/magazine/6187234.stm |accessdate=June 29, 2010}}</ref>


แม้ถูกตีตราว่าเป็น "ขยะ" แต่อาหารเหล่านี้ปกติไม่มีผลต่อสุขภาพในทันที และโดยรวมแล้วปลอดภัยเมื่อรวมกับอาหารที่มีสมดุลดี<ref>{{cite web | url=http://www.webmd.com/diet/junk-food-facts | title=Junk-Food Facts | publisher=WebMD | date=2007 | accessdate=13 March 2015 | author=Magee, Elaine}}</ref> ทว่า ความกังวลเกี่ยวกับผลเสียต่อสุขภาพอันเกิดจากากรบริโภคอาหารที่เน้น "อาหารขยะ" อย่างหนักส่งผลให้มีการรณรงค์สร้างความตระหนักทางสาธารณสุข และการจำกัดการโฆษณาและการขายอาหารขยะในหลายประเทศ<ref>{{cite web | url=http://publichealthlawcenter.org/topics/healthy-eating/food-marketing-kids | title=Food Marketing to Kids | publisher=Public Health Law Center (William Mitchell College of Law) | date=2010 | accessdate=13 March 2015}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.who.int/features/2014/uk-food-drink-marketing/en/ | title=Protecting children from the harmful effects of food and drink marketing | publisher=World Health Organization | date=September 2014 | accessdate=13 March 2015}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.cspinet.org/nutritionpolicy/foodmarketing_abroad.pdf | title=Food Marketing in Other Countries | publisher=Center for Science in the Public Interest | date=2007 | accessdate=13 March 2015}}</ref>
แม้ถูกตีตราว่าเป็น "ขยะ" แต่อาหารเหล่านี้ปกติไม่มีผลต่อสุขภาพในทันที และโดยรวมแล้วปลอดภัยเมื่อรวมกับอาหารที่มีสมดุลดี<ref>{{cite web | url=http://www.webmd.com/diet/junk-food-facts | title=Junk-Food Facts | publisher=WebMD | date=2007 | accessdate=13 March 2015 | author=Magee, Elaine}}</ref> ทว่า ความกังวลเกี่ยวกับผลเสียต่อสุขภาพอันเกิดจาการบริโภคอาหารที่เน้น "อาหารขยะ" อย่างหนักส่งผลให้มีการรณรงค์สร้างความตระหนักทางสาธารณสุข และการจำกัดการโฆษณาและการขายอาหารขยะในหลายประเทศ<ref>{{cite web | url=http://publichealthlawcenter.org/topics/healthy-eating/food-marketing-kids | title=Food Marketing to Kids | publisher=Public Health Law Center (William Mitchell College of Law) | date=2010 | accessdate=13 March 2015}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.who.int/features/2014/uk-food-drink-marketing/en/ | title=Protecting children from the harmful effects of food and drink marketing | publisher=World Health Organization | date=September 2014 | accessdate=13 March 2015}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.cspinet.org/nutritionpolicy/foodmarketing_abroad.pdf | title=Food Marketing in Other Countries | publisher=Center for Science in the Public Interest | date=2007 | accessdate=13 March 2015}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:04, 30 สิงหาคม 2560

อาหารขยะ (อังกฤษ: junk food) เป็นคำใช้กับอาหารที่มีแคลอรีจากน้ำตาลหรือไขมันสูง โดยมีโปรตีน วิตามินหรือเกลือแร่ต่ำ การใช้คำนี้ส่อว่า อาหารนั้น ๆ มี "คุณค่าทางโภชนาการ" ต่ำและมีไขมัน น้ำตาล เกลือและแคลอรีมากเกิน[1][2][3]

แม้ถูกตีตราว่าเป็น "ขยะ" แต่อาหารเหล่านี้ปกติไม่มีผลต่อสุขภาพในทันที และโดยรวมแล้วปลอดภัยเมื่อรวมกับอาหารที่มีสมดุลดี[4] ทว่า ความกังวลเกี่ยวกับผลเสียต่อสุขภาพอันเกิดจาการบริโภคอาหารที่เน้น "อาหารขยะ" อย่างหนักส่งผลให้มีการรณรงค์สร้างความตระหนักทางสาธารณสุข และการจำกัดการโฆษณาและการขายอาหารขยะในหลายประเทศ[5][6][7]

อ้างอิง

  1. "junk food". Merriam-Webster Dictionary. สืบค้นเมื่อ 13 March 2015.
  2. "junk food". Macmillan Dictionary. สืบค้นเมื่อ 13 March 2015.
  3. O'Neill, Brendon (November 30, 2006). "Is this what you call junk food?". BBC News. สืบค้นเมื่อ June 29, 2010.
  4. Magee, Elaine (2007). "Junk-Food Facts". WebMD. สืบค้นเมื่อ 13 March 2015.
  5. "Food Marketing to Kids". Public Health Law Center (William Mitchell College of Law). 2010. สืบค้นเมื่อ 13 March 2015.
  6. "Protecting children from the harmful effects of food and drink marketing". World Health Organization. September 2014. สืบค้นเมื่อ 13 March 2015.
  7. "Food Marketing in Other Countries" (PDF). Center for Science in the Public Interest. 2007. สืบค้นเมื่อ 13 March 2015.