ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ", ดาบและเพชร" → "และดาบประดับเพชร" +แทนที่ ", ดาบ และเพชร" → "และดาบประดับเพชร" +แทนที่ "|miniatur...
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน''' ({{lang-de|''Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes''}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า '''กางเขนอัศวิน''' (''{{lang|de|Ritterkreuz}}'') เป็นบำเหน็จความชอบขั้นสูงสุดในกองกำลังทหารและกึ่งทหารของ[[นาซีเยอรมนี]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] มีการมอบบำเหน็จนี้อย่างแพร่หลายด้วยสารพัดเหตุผล เช่น การนำทัพที่ยอดเยี่ยมของผู้บัญชาการ หรือความกล้าหาญในสมรภูมิของนายทหารระดับล่าง บำเหน็จนี้จะถูกมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในสามเหล่าทัพของ[[เวร์มัคท์]] ([[กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)|''เฮร์'']], ''[[ครีกซมารีเนอ]]'' และ''[[ลุฟท์วัฟเฟอ]]'') ตลอดจนสมาชิกของหน่วย[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]], [[กองแรงงานไรช์]] และ[[โฟล์คสชทูร์ม]] บำเหน็จนี้ถูกมอบไปมากกว่า 7,000 สำรับตลอดช่วงสงคราม
'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน''' ({{lang-de|''Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes''}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า '''กางเขนอัศวิน''' (''{{lang|de|Ritterkreuz}}'') เป็นบำเหน็จความชอบขั้นสูงสุดในกองกำลังทหารและกึ่งทหารของ[[นาซีเยอรมนี]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] มีการมอบบำเหน็จนี้อย่างแพร่หลายด้วยสารพัดเหตุผล เช่น การนำทัพที่ยอดเยี่ยมของผู้บัญชาการ หรือความกล้าหาญในสมรภูมิของนายทหารระดับล่าง บำเหน็จนี้จะถูกมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในสามเหล่าทัพของ[[เวร์มัคท์]] ([[กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)|''เฮร์'']], ''[[ครีกซมารีเนอ]]'' และ''[[ลุฟท์วัฟเฟอ]]'') ตลอดจนสมาชิกของหน่วย[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]], [[กองแรงงานไรช์]] และ[[โฟล์คสชทูร์ม]] บำเหน็จนี้ถูกมอบไปมากกว่า 7,000 สำรับตลอดช่วงสงคราม


[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]สถาปนาบำเหน็จนี้ขึ้นเมื่อ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เมื่อ[[การบุกครองโปแลนด์|เยอรมันเข้ารุกรานโปแลนด์]] มีลักษณะตามแบบอย่างของ[[กางเขนเหล็ก]]ซึ่งใช้ในกองทัพเยอรมันมาตั้งแต่สมัย[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] ต่อมาในปีค.ศ. 1940 ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกหนึ่งขั้น คือ ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค'' และต่อมาในค.ศ. 1941 ก็ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกสองขั้นคือ ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบ'' กับขั้น ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบ และเพชร'' และมีการสถาปนาขั้นพิเศษขึ้นในปี ค.ศ. 1944 เรียกว่า ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบและเพชรเคลือบทอง''
[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]สถาปนาบำเหน็จนี้ขึ้นเมื่อ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เมื่อ[[การบุกครองโปแลนด์|เยอรมันเข้ารุกรานโปแลนด์]] มีลักษณะตามแบบอย่างของ[[กางเขนเหล็ก]]ซึ่งใช้ในกองทัพเยอรมันมาตั้งแต่สมัย[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] ต่อมาในปีค.ศ. 1940 ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกหนึ่งขั้น คือ ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค'' และต่อมาในค.ศ. 1941 ก็ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกสองขั้นคือ ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบ'' กับขั้น ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชร'' และมีการสถาปนาขั้นพิเศษขึ้นในปี ค.ศ. 1944 เรียกว่า ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชรเคลือบทอง''


หอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมันระบุว่ามีผู้ได้รับบำเหน็จนี้อย่างเป็นทางการรวม 7,161 ราย ในจำนวนนี้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นขั้นอัศวินและขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คจำนวน 863 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบจำนวน 147 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบ และเพชร จำนวน 27 ราย ส่วนขั้นเคลือบทองขั้นมีการมอบให้แก่บุคคลเดียวคือ[[Hans-Ulrich Rudel|พันเอก ฮันส์-อัลริช รูเดิล]] แห่งลุฟท์วัฟเฟอ
หอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมันระบุว่ามีผู้ได้รับบำเหน็จนี้อย่างเป็นทางการรวม 7,161 ราย ในจำนวนนี้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นขั้นอัศวินและขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คจำนวน 863 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบจำนวน 147 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชร จำนวน 27 ราย ส่วนขั้นเคลือบทองขั้นมีการมอบให้แก่บุคคลเดียวคือ[[Hans-Ulrich Rudel|พันเอก ฮันส์-อัลริช รูเดิล]] แห่งลุฟท์วัฟเฟอ
{| class="wikitable centered" style="text-align:center"
{| class="wikitable centered" style="text-align:center"
|- class="hintergrundfarbe6"
|- class="hintergrundfarbe6"
! colspan="7" | ชั้นของกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
! colspan="7" | ชั้นของกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
|-
|-
| style="width:20em" | [[ไฟล์:DE Band mit RK (1).jpg|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:DE Band mit RK (1).jpg|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:bmRKEL.jpg|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:bmRKEL.jpg|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:bmRKELS.jpg|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:bmRKELS.jpg|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:bmRKELSB.jpg|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:bmRKELSB.jpg|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:bmRKELSBGold.jpg|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:bmRKELSBGold.jpg|120px]]
|-
|-
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross.png|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross.png|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross With Oak Leaves.svg|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross With Oak Leaves.svg|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross With Oak Leaves and Swords.svg|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross With Oak Leaves and Swords.svg|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross in Gold With Oak Leaves,Swords and Diamonds.png|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross in Gold With Oak Leaves,Swords and Diamonds.png|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross in Gold With Oak Leaves,Swords and Diamonds.png|miniatur|zentriert|120px]]
| style="width:20em" | [[ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross in Gold With Oak Leaves,Swords and Diamonds.png|120px]]
|- class="hintergrundfarbe5"
|- class="hintergrundfarbe5"
| กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน<br>(สถาปนา 1 ก.ย. 1939)
| กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน<br>(สถาปนา 1 ก.ย. 1939)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:40, 26 สิงหาคม 2560

กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน ([Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) หรือเรียกอีกอย่างว่า กางเขนอัศวิน (Ritterkreuz) เป็นบำเหน็จความชอบขั้นสูงสุดในกองกำลังทหารและกึ่งทหารของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มีการมอบบำเหน็จนี้อย่างแพร่หลายด้วยสารพัดเหตุผล เช่น การนำทัพที่ยอดเยี่ยมของผู้บัญชาการ หรือความกล้าหาญในสมรภูมิของนายทหารระดับล่าง บำเหน็จนี้จะถูกมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในสามเหล่าทัพของเวร์มัคท์ (เฮร์, ครีกซมารีเนอ และลุฟท์วัฟเฟอ) ตลอดจนสมาชิกของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส, กองแรงงานไรช์ และโฟล์คสชทูร์ม บำเหน็จนี้ถูกมอบไปมากกว่า 7,000 สำรับตลอดช่วงสงคราม

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์สถาปนาบำเหน็จนี้ขึ้นเมื่อ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เมื่อเยอรมันเข้ารุกรานโปแลนด์ มีลักษณะตามแบบอย่างของกางเขนเหล็กซึ่งใช้ในกองทัพเยอรมันมาตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรปรัสเซีย ต่อมาในปีค.ศ. 1940 ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกหนึ่งขั้น คือ อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค และต่อมาในค.ศ. 1941 ก็ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกสองขั้นคือ อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบ กับขั้น อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชร และมีการสถาปนาขั้นพิเศษขึ้นในปี ค.ศ. 1944 เรียกว่า อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชรเคลือบทอง

หอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมันระบุว่ามีผู้ได้รับบำเหน็จนี้อย่างเป็นทางการรวม 7,161 ราย ในจำนวนนี้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นขั้นอัศวินและขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คจำนวน 863 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบจำนวน 147 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชร จำนวน 27 ราย ส่วนขั้นเคลือบทองขั้นมีการมอบให้แก่บุคคลเดียวคือพันเอก ฮันส์-อัลริช รูเดิล แห่งลุฟท์วัฟเฟอ

ชั้นของกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
(สถาปนา 1 ก.ย. 1939)
กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
ประดับด้วยใบโอ๊ค
(สถาปนา 3 มิ.ย. 1940)
กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
ประดับด้วยใบโอ๊คและดาบ
(สถาปนา 28 ก.ย. 1941)
กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
ประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชร
(สถาปนา 28 ก.ย. 1941)
กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วย
ใบโอ๊คและดาบประดับเพชรเคลือบทอง
(สถาปนา 29 ธ.ค. 1944)
Knight's Cross of the Iron Cross Knight's Cross of the Iron Cross
with Oak Leaves
Knight's Cross of the Iron Cross
with Oak Leaves and Swords
Knight's Cross of the Iron Cross
with Oak Leaves, Swords and Diamonds
Knight's Cross of the Iron Cross
with Golden Oak Leaves, Swords and Diamonds

อ้างอิง

  • Fellgiebel, Walther-Peer (2000) [1986]. Die Träger des Ritterkreuzes des Eisernen Kreuzes 1939–1945 — Die Inhaber der höchsten Auszeichnung des Zweiten Weltkrieges aller Wehrmachtteile [The Bearers of the Knight's Cross of the Iron Cross 1939–1945 — The Owners of the Highest *Award of the Second World War of all Wehrmacht Branches] (in German). Friedberg, Germany: Podzun-Pallas. ISBN 978-3-7909-0284-6.
  • Maerz, Dietrich (2007). Das Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes und seine Höheren Stufen (in German). Richmond, MI: B&D Publishing LLC. ISBN 978-0-9797969-1-3.
  • Maerz, Dietrich (2007) "The Knights Cross of the Iron Cross and its Higher Grades" (in English), Richmind, MI, B&D Publishing LLC, ISBN 978-0-9797969-0-6.
  • Potempa, Harald (2003). Das Eiserne Kreuz—Zur Geschichte einer Auszeichnung (in German). Luftwaffenmuseum der Bundeswehr Berlin-Gatow.
  • Schaulen, Fritjof (2003). Eichenlaubträger 1940 – 1945 Zeitgeschichte in Farbe I Abraham – Huppertz [Oak Leaves Bearers 1940 – 1945 Contemporary History in Color I Abraham – Huppertz] (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 978-3-932381-20-1.
  • Schaulen, Fritjof (2004). Eichenlaubträger 1940 – 1945 Zeitgeschichte in Farbe II Ihlefeld - Primozic [Oak Leaves Bearers 1940 – 1945 Contemporary History in Color II Ihlefeld - Primozic] (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 978-3-932381-21-8.
  • Schaulen, Fritjof (2005). Eichenlaubträger 1940 – 1945 Zeitgeschichte in Farbe III Radusch – Zwernemann [Oak Leaves Bearers 1940 – 1945 Contemporary History in Color III Radusch – Zwernemann] (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 978-3-932381-22-5.
  • Scherzer, Veit (2007). Die Ritterkreuzträger 1939–1945 Die Inhaber des Ritterkreuzes des Eisernen Kreuzes 1939 von Heer, Luftwaffe, Kriegsmarine, Waffen-SS, Volkssturm sowie mit Deutschland verbündeter Streitkräfte nach den Unterlagen des Bundesarchives [The Knight's Cross *Bearers 1939–1945 The Holders of the Knight's Cross of the Iron Cross 1939 by Army, Air Force, Navy, Waffen-SS, Volkssturm and Allied Forces with Germany According to the Documents of the Federal Archives] (in German). Jena, Germany: Scherzers Miltaer-Verlag. ISBN 978-3-938845-17-2.