ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพอากาศประเทศแมนจู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plamnakpandin (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Plamnakpandin (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 46: บรรทัด 46:


ในช่วงปีค.ศ.1940-45 กองทัพอากาศแมนจูกัวได้รับการพัฒนาอย่างมากโดยได้รับ ครูฝึก,เครื่องบินขนส่งใหม่,เครื่องบินขับไล่ใหม่ โดยได้รับเครื่องบินขับไล่[[:en:Nakajima Ki-27|Nakajima Ki-27]] โดยได้เปิดตัวในวันการบิน 20 กันยายน ค.ศ.1942 โดยได้รับเครื่องบินฝึกซ้อม[[:en:Tachikawa Ki-9|Tachikawa Ki-9]]และ[[:en:Tachikawa Ki-55|Tachikawa Ki-55]]และได้รับเครื่องบินขนส่ง[[:en:Mitsubishi Ki-57|Mitsubishi Ki-57]] มาบางส่วนซึ่งนำมาแปลงเป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดและยังได้รับเครื่องบินทิ้งระเบิดเบา[[:en:Kawasaki Ki-32|Kawasaki Ki-32]] และได้รับเงินสนับสนุนในการดัดแปลงโดยบริษัทในแมนจูกัวและการให้การสนับสนุนจากญี่ปุ่นโดยได้รับ [[:en:Nakajima Ki-43|Nakajima Ki-43]]ในปีค.ศ.1945และเป็นสิ่งที่ดีในการต่อต้านเครื่องบินทิ้งระเบิด[[โบอิง บี-29 ซูเปอร์ฟอร์เทรส]]โดยประมาณแล้วนักบินชาวแมนจูกัวใช้เวลาประมาณ 20 นาทีเพื่อเตรียมตัวหลังจากการมาของเครื่องบินทิ้งระเบิดและไต่ระยะขึ้นไปถึง 7000 เมตรและมีบางลำที่ชนกันก่อนที่บี-29จะออกจากระยะไปและนักบินบางคนได้รับการฝึกแบบคามิคาเซะโดยมีรายงานว่าบี-29 ลำหนึ่งตกเพราะจากการชนกับเครื่องบิน Ki-27 และจาก[[ปฏิบัติการพายุสิงหาคม]]ของ[[สหภาพโซเวียต]] [[กองทัพแดง]] ในช่วงสิงหาคม ค.ศ.1945 มีเครื่องบินหลายลำไม่สามารถออกรบได้และเกิดอุบัติเหตุในช่วงรบกับเครื่องบินโซเวียต
ในช่วงปีค.ศ.1940-45 กองทัพอากาศแมนจูกัวได้รับการพัฒนาอย่างมากโดยได้รับ ครูฝึก,เครื่องบินขนส่งใหม่,เครื่องบินขับไล่ใหม่ โดยได้รับเครื่องบินขับไล่[[:en:Nakajima Ki-27|Nakajima Ki-27]] โดยได้เปิดตัวในวันการบิน 20 กันยายน ค.ศ.1942 โดยได้รับเครื่องบินฝึกซ้อม[[:en:Tachikawa Ki-9|Tachikawa Ki-9]]และ[[:en:Tachikawa Ki-55|Tachikawa Ki-55]]และได้รับเครื่องบินขนส่ง[[:en:Mitsubishi Ki-57|Mitsubishi Ki-57]] มาบางส่วนซึ่งนำมาแปลงเป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดและยังได้รับเครื่องบินทิ้งระเบิดเบา[[:en:Kawasaki Ki-32|Kawasaki Ki-32]] และได้รับเงินสนับสนุนในการดัดแปลงโดยบริษัทในแมนจูกัวและการให้การสนับสนุนจากญี่ปุ่นโดยได้รับ [[:en:Nakajima Ki-43|Nakajima Ki-43]]ในปีค.ศ.1945และเป็นสิ่งที่ดีในการต่อต้านเครื่องบินทิ้งระเบิด[[โบอิง บี-29 ซูเปอร์ฟอร์เทรส]]โดยประมาณแล้วนักบินชาวแมนจูกัวใช้เวลาประมาณ 20 นาทีเพื่อเตรียมตัวหลังจากการมาของเครื่องบินทิ้งระเบิดและไต่ระยะขึ้นไปถึง 7000 เมตรและมีบางลำที่ชนกันก่อนที่บี-29จะออกจากระยะไปและนักบินบางคนได้รับการฝึกแบบคามิคาเซะโดยมีรายงานว่าบี-29 ลำหนึ่งตกเพราะจากการชนกับเครื่องบิน Ki-27 และจาก[[ปฏิบัติการพายุสิงหาคม]]ของ[[สหภาพโซเวียต]] [[กองทัพแดง]] ในช่วงสิงหาคม ค.ศ.1945 มีเครื่องบินหลายลำไม่สามารถออกรบได้และเกิดอุบัติเหตุในช่วงรบกับเครื่องบินโซเวียต
== กองบินต่างๆ ==
== Organization ==
มีสามกองบินที่ก่อตั้งในปีค.ศ.1942 จากโรงเรียนการบิน ตามแบบฉบับของกองบิน โดยมีเจ้าหน้าที่ 11 คน,เจ้าหน้าที่ทั่วไป(ไม่ใช่ชั้นสัญญาบัตร)12-14 คนและพนักงานทั่วไป 90 คน<ref name="Jowett90" />
Three fighters squadrons were formed in 1942 from flying school cadets, with the typical strength of a squadron being as follows: 11 officers, 12 to 14 [[non-commissioned officer]]s, and 90 enlisted men.<ref name="Jowett90" />


กองบินต่างๆในกองทัพอากาศช่วงปีค.ศ.1941:<ref name="Jowett90" />
The organization of the air force in 1941 was as follows:<ref name="Jowett90" />
*กองบินที่ 1(ชางชุน)
*1st Air Unit (Hsinking)
*กองบินที่ 2(มุกเดน)
*2nd Air Unit (Fengtien)
*กองบินที่ 3(ฮาร์บิน)
*3rd Air Unit (Harbin)
*หน่วยกองบินอิสระต๋องเลียว
*Tongliao Independent Air Unit
*โรงเรียนการบิน
*Flying School


===เครื่องบินที่ประจำการ===
===เครื่องบินที่ประจำการ===
อุตสาหกรรมการบินของแมนจูกัวมีไม่มากนัก โดยสร้างเครื่องบินขับไล่รุ่น [[:en:Nakajima Ki-27|Nakajima Ki-27]] ได้แต่ส่วนใหญ่ได้นำไปใช้ใน[[กองกำลังพิเศษทางอากาศกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น]]และเหลือให้แค่บางส่วนเท่านั้น:<ref name="Jowett90" />
An aircraft construction industry existed in Manchukuo. It produced Nakajima Ki-27 fighters, among others, although the majority of them went to the Japanese air services rather than the Manchukuoan Air Force. The Manchukuoans had the following aircraft:<ref name="Jowett90" />
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
! style="text-align:center; background:#acc;"|Aircraft
! style="text-align:center; background:#acc;"|Aircraft

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:34, 14 สิงหาคม 2560

กองทัพอากาศแมนจูกัว
飛行隊
Manchukuo Air Force pilots
นักบินของกองทัพอากาศแมนจูกัว
ประจำการค.ศ. 1937–ค.ศ. 1945
ประเทศ ประเทศแมนจูกัว
บทบาทกองทัพอากาศ
กำลังรบประมาณ 35 ลำ
กองบัญชาการชางชุน
สีหน่วยเหลือง,น้ำเงิน,ขาว
วันสถาปนา20 กันยายน (วันการบิน)
ปฏิบัติการสำคัญสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่สอง
ผู้บังคับบัญชา
จอมทัพจักรพรรดิผู่อี๋
เครื่องหมายสังกัด
สัญลักษณ์

กองทัพอากาศแมนจูกัว (จีน: 飛行隊; พินอิน: Fēixíng Duì) เป็นกองทัพอากาศของแมนจูกัวซึ่งเป็นรัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญของบริษัทการบินขนส่งแมนจูกัว (ช่วงหลังเปลี่ยนชื่อเป็น สายการบินแห่งชาติแมนจูกัว) โดยเป็นลักษณะทางทหาร ถูกก่อตั้งในปีค.ศ. 1931 โดยได้รับรองให้เป็นทั้งการขนส่งและการต่อต้านตามคำสั่งของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น

ประวัติ

ตั้งแต่ก่อตั้งรัฐแมนจูกัวขึ้นในค.ศ.1932 โดยช่วงแรกเรียกว่าสายการบินทางทหารแมนจูกัว มีหน้าที่ในการขนส่งและเครื่องบินส่วนใหญ่เป็นเครื่องบินโดยสาร โดยมีเพียงการปฏิบัติการเพื่อสนับสนุน กองทัพมองโกเลียใน ในช่วงยุทธการซุยหยวนในค.ศ.1936 โดยเป็น"กองพันอาสาอิสรภาพ" โดยมีเครื่องบิน 13 ลำเพื่อช่วยกองทัพมองโกเลียใน ในการขับไล่กองทัพจีนคณะชาติ ออกจากจังหวัดซุยหยวน โดยกองทัพอากาศแมนจูกัวยังไม่ถูกก่อตั้งอย่างเป็นทางการจนกระทั่ง กุมภาพันธ์ ค.ศ.1937 โดยมีทหารอาสา 30 คนจากกองทัพบกแมนจูกัว ที่ถูกส่งไปฮาร์บิน เพื่อฝึก ในขั้นต้นผู้บัญชาการกองทัพคันโต ยังไม่เชื่อใจชาวแมนจูกัวที่จะให้ก่อตั้งกองทัพอากาศเป็นของตนเอง ดังนั้นในช่วงต้นจึงยังมีนักบินญี่ปุ่นประจำการมาก[1]

โดยเริ่มต้นประจำการNieuport-Delage NiD 29โดยประจำการอยู่ที่ ชางชุนและมีการขยายและเพิ่มNakajima Army Type 91 FighterและKawasaki Type 88 เครื่องบินทิ้งระเบิดเบาและตั้งกองบินที่สองที่เสิ่นหยาง และกองบินที่สามที่ฮาร์บิน ระหว่างค.ศ.1938-39 และเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1940 ศูนย์บัญชาการของกองทัพอากาศก็ถูกก่อตั้งขึ้นที่ชางชุน และญี่ปุ่นได้ตัดสินใจมอบอำนาจในการใช้กองทัพอย่างมีอิสระให้กับนักบินชาวแมนจูกัวและการให้เครื่องบินที่ทันสมัยและโรงเรียนการบินก็ถูกตั้งขึ้นที่มุกเดน โดยควบคู่ไปกับทหารและพลเรือนแต่ก็มีเหตุการณ์ที่ทำให้การพัฒนาต้องหยุดชะงักเมื่อนักบินชาวแมนจูกัวก่อกบฏและไปเข้าร่วมกบฏหลังจากการสังหารอาจารย์ชาวญี่ปุ่นแต่กระนั้นโครงการพัฒนาก็ยังทำต่อไปและมีสามกองบินที่ถูกก่อตั้งในปีค.ศ.1942[1]

ในช่วงปีค.ศ.1940-45 กองทัพอากาศแมนจูกัวได้รับการพัฒนาอย่างมากโดยได้รับ ครูฝึก,เครื่องบินขนส่งใหม่,เครื่องบินขับไล่ใหม่ โดยได้รับเครื่องบินขับไล่Nakajima Ki-27 โดยได้เปิดตัวในวันการบิน 20 กันยายน ค.ศ.1942 โดยได้รับเครื่องบินฝึกซ้อมTachikawa Ki-9และTachikawa Ki-55และได้รับเครื่องบินขนส่งMitsubishi Ki-57 มาบางส่วนซึ่งนำมาแปลงเป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดและยังได้รับเครื่องบินทิ้งระเบิดเบาKawasaki Ki-32 และได้รับเงินสนับสนุนในการดัดแปลงโดยบริษัทในแมนจูกัวและการให้การสนับสนุนจากญี่ปุ่นโดยได้รับ Nakajima Ki-43ในปีค.ศ.1945และเป็นสิ่งที่ดีในการต่อต้านเครื่องบินทิ้งระเบิดโบอิง บี-29 ซูเปอร์ฟอร์เทรสโดยประมาณแล้วนักบินชาวแมนจูกัวใช้เวลาประมาณ 20 นาทีเพื่อเตรียมตัวหลังจากการมาของเครื่องบินทิ้งระเบิดและไต่ระยะขึ้นไปถึง 7000 เมตรและมีบางลำที่ชนกันก่อนที่บี-29จะออกจากระยะไปและนักบินบางคนได้รับการฝึกแบบคามิคาเซะโดยมีรายงานว่าบี-29 ลำหนึ่งตกเพราะจากการชนกับเครื่องบิน Ki-27 และจากปฏิบัติการพายุสิงหาคมของสหภาพโซเวียต กองทัพแดง ในช่วงสิงหาคม ค.ศ.1945 มีเครื่องบินหลายลำไม่สามารถออกรบได้และเกิดอุบัติเหตุในช่วงรบกับเครื่องบินโซเวียต

กองบินต่างๆ

มีสามกองบินที่ก่อตั้งในปีค.ศ.1942 จากโรงเรียนการบิน ตามแบบฉบับของกองบิน โดยมีเจ้าหน้าที่ 11 คน,เจ้าหน้าที่ทั่วไป(ไม่ใช่ชั้นสัญญาบัตร)12-14 คนและพนักงานทั่วไป 90 คน[1]

กองบินต่างๆในกองทัพอากาศช่วงปีค.ศ.1941:[1]

  • กองบินที่ 1(ชางชุน)
  • กองบินที่ 2(มุกเดน)
  • กองบินที่ 3(ฮาร์บิน)
  • หน่วยกองบินอิสระต๋องเลียว
  • โรงเรียนการบิน

เครื่องบินที่ประจำการ

อุตสาหกรรมการบินของแมนจูกัวมีไม่มากนัก โดยสร้างเครื่องบินขับไล่รุ่น Nakajima Ki-27 ได้แต่ส่วนใหญ่ได้นำไปใช้ในกองกำลังพิเศษทางอากาศกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นและเหลือให้แค่บางส่วนเท่านั้น:[1]

Aircraft Origin Type Variant In service Notes
Combat Aircraft
Nakajima Type 91  ญี่ปุ่น fighter II 1+
Nakajima Ki-27  ญี่ปุ่น fighter 12
Nakajima Ki-43  ญี่ปุ่น fighter 3 Delivered in 1945
Nakajima LB-2  ญี่ปุ่น medium bomber 1 A converted experimental craft from the Manchukuo National Airways
Kawasaki Ki-32  ญี่ปุ่น light bomber 1+
Kawasaki Type 88  ญี่ปุ่น light bomber 1+
Mitsubishi Ki-30  ญี่ปุ่น light bomber 1+
Mitsubishi Ki-21  ญี่ปุ่น bomber 6
2F BXN2 Gamma  สหรัฐ bomber 2E 1
Transport
Tachikawa Ki-54  ญี่ปุ่น transport 1+
Trainer
Tachikawa Ki-9  ญี่ปุ่น trainer 6+
Tachikawa Ki-55  ญี่ปุ่น advanced trainer 1+

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Jowett (2004), pp. 90–92